Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ - Coggle Diagram
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวกับยุคสมัยในประวัติศาสตร์ไทย
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
พิพิธภัณฑ์บ้านก้านเหลือง จังหวัดอุบลราชธานี
ร่องรอยชุมชนโบราณ
ภาพเขียน โครงกระดูก เครื่องมือโลหะสำริด
แสดงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานชุมชน
มีหลักฐานเกี่ยวกับ พืช เครื่องมือทอผ้า และโครงการดูกสัตว์เลี้ยง
แสดงการเกษตรกรรม
สมัยประวัติศาสตร์
ก่อนสุโขทัย
หลักฐานสมัยทวารวดี
หลักฐานที่พบในดินแดนที่เคยเป็นศูนย์กลางความเจริญในอดีต
สมัยสุโขทัย
พบมากในเขตสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร
พบที่พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ล้านนา ซึ่งร่วมกับสมัยกับสุโขทัย
สมัยอยุธยา
กระจายอยู่ทั่ว โดยเฉพาะในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา และเกาะเมืองอยุธยา
สมัยธนบุรี
เป็นช่วงเวลาสั้นๆ จึงมีหลักฐานจำกัด
สมัยรัตนโกสินทร์
มีหลักฐานมาก โดยเฉพาะตอนต้น เนื่องจากเป็นช่วงสร้างบ้านแปงเมือง
หลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวกับยุคสมัยในประวัติศาสตร์สากล
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
เช่น ซากเมืองโบราณในเขตทะเลทรายทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ตะวันออกกลาง และลุ่มแม่นำสินธุ
ภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในถ้ำต่างๆของแอฟริกาและฝรั่งเศส
เครื่องใช้อื่นๆที่กระจายทั่วไป
ในจีน
ในตะวันออกกลาง
ในแอฟริกา
ในแถบเอเชียไมเนอร์
สมัยประวัติศาสตร์
สถาปัตยกรรม เช่น พีระมิด กำแพงเมือง ประติมากรรม จิตรกรรม พบมากในแหล่งอารยธรรมโบราณของโลก เช่น อียิปต์
พบหลัฐานทางโบราณคดีจำนวนมากในแหล่งอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลาตินอมเริกา และ ยุโรป
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับยุคสมัยในประวัติศาสตร์สากล
สมัยโบราณ
บทประพันธ์เรื่อง Iliad ของ โฮเมอร์
หนังสือประวัติศาสตร์ Historia ของ เฮโรโดตัส บิดาประวัติศาสตร์
ผลงานประวัติศาสตร์ Records of the Historian เขียนโดย ซือหม่าเชียน บิดาประวัติศาสตร์จีน
มหากาพย์ต่างๆ และพระไตรปิฎก
สมัยกลาง
ยุโรปได้บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ทั้งพงศาวดาร และบันทึกรายปี
ผลงานประเภทรวมพงศาวดาร Greater Chronicle ของแมททิว ปารีส
ประเทศจีนมีการรวบรวมหลักฐานเหตุการณ์ประจำราชวงศ์
สมัยใหม่
มีการเขียนหนังสือประวัติศาสตร์สะท้อนสมัยจำนวนมาก
The Age of Louis XV ของวอลแตร์
History of England ของฮูม
สมัยปัจจุบัน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับยุคสมัยในประวัติศาสตร์ไทย
จารึก
เป็นหลักฐานชั้นต้น เก่าแก่ที่สุด
เนื้อหาจารึกสะท้อนภาพการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิต
เป็นการบันทึกในแผ่นศิลา และวัตถุคงทนอื่นๆ เช่น อิฐ
ตำนาน
เป็นหลักฐานลายลักษณ์ที่เก่าแก่รุ่นแรกๆ
บันทึกเรื่องราวอดีตที่ห่างไกลจากผู้บันทึกมาก มักบันทึกเนื้อหาเกี่ยวกับวีรชนสำคัญ และอภินิหารต่างๆ
ไม่สามารถกำหนดศักราชตามตำนานได้
สะท้อนความเชื่อและวิถีชีวิตในยุคนั้น
พงศาวดาร
แพร่หลายมากที่สุดในสมัยอยุธยา จนถึงรัชกาลที่สี่
มีการระบุศักราช โดยเขียนประวัติศาสตร์ราชวงศ์เป็นสำคัญ มีลำดับเหตุการณ์
พงศาวดารที่สำคัญ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า
ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ฉบับไมเคิล วิคเคอรี
บันทึกของชาวต่างชาติ
มาจากชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาและบันทึกเรื่องราว
บันทึกสำคัญ
จดหมายเหตุฟาน ฟลีต
เอกสารของจอห์น ครอว์เฟิร์ด
บันทึกผ่านวิสัยทัศน์ของผู้บันทึก จึงต้องมีความระมัดระวังในการตรวจสอบข้อเท็จจริง
พระราชหัตถเลขา
รัชกาลที่ห้า ทรงมีพระราชหัตถเลขามาก ซึ่งกล่าวเกี่ยวกับการบริหารบ้านเมืองเป็นสำคัญ
จัดเป็นหลักฐานชั้นต้นที่ทรงคุณค่า ทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจการแก้ปัญหาต่างๆในอดีต