Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 11
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
เภสัชวิทยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetics)
1.การดูดซึม (Absorption)
ค่าความเป็นกรดในกระเพาะอาหารลดลง
อาหารผ่านกระเพาะอาหารช้าลง
เลือดที่ไปเลี้ยงทางเดินอาหารลดลง
การเคลื่อนไหวของลําไส้ช้าลง
พื้นที่ผิวในการดูดซึมยาลดลง
การหลั่งกรดและน้ําย่อยในทางอาหารลดลง
2.การกระจายตัว (Distribution)
ไขมันสะสมในร่างกายมากขึ้น
สัดส่วนของน้ําในร่างกายลดลง
จํานวนโปรตีนอัลบูมินในเลือดลดลง
จํานวน α1-acid glycoprotein เพิ่มขึ้น
มวลรวมในร่างกายลดลง
มีเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆลดลง
มีเลือดไปที่ตับและไตน้อยลง
3.การเปลี่ยนแปลงสภาพยา (Metabolism)
ขนาดของตับลดลง
เลือดที่ไหลเวียนผ่านตับลดลง
การทํางานของเอนไซม์ต่างๆลดลง
4.การกําจัดยา (Elimination)
ค่า creatinine clearance ลดลง
ค่า glomerular filtration rate ลดลง
มีเลือดมาที่ไตน้อยลง
มีประสิทธิภาพการทํางานของหน่วยไตลดลง
ร่างกายกระทำต่อยา
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชพลศาสตร์
(Pharmacodynamic)
ยากระทำต่อร่างกาย
ผู้สูงอายุมีการตอบสนองต่อ
Beta-adrenergic receptors ลดลง
1.Dopaminergic system
Dopamine receptors ชนิด D2
ลดลงใน striatum
2.Cholinergic system
เอนไซม์ choline acetyltransferase ลดลง
จํานวน cholinergic cells ลดลง
3.Adrenergic system
การสร้าง cAMP ลดลงเมื่อถูกกระตุ้น
ด้วย Beta-adrenergic agonists
จํานวน beta- adrenoreceptors ลดลง
beta receptor affinity ลดลง
การตอบสนองของ alpha2 –adrenoreceptor ลดลง
4.Gabaminergic system
psychomotor performance ลดลง
เมื่อตอบสนองต่อ benzodiazepines
การตอบสนองต่อ GABA ของ
postsynaptic receptor ลดลง
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทําให้เกิดอาการ
ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
1.Cardiovascular drugs
Cardiac glycosides
ยากลุ่ม digitalis ใช้รักษาหัวใจห้องบน
เต้นผิดจังหวะ
ยา digoxin ระวังในผู้ป่วยไตวาย
Antiarrhythmics
ใช้เฉพาะในภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะรุนแรง
เช่นยา quinidine, procainamide(pronestyl)
ยา disopyramide (Norpace) ระวังใน
ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว
Antihypertensive drugs
ยาลดความดันโลหิตสูง จะช่วยลดการเกิด
โรคลมอัมพาต โรคหัวใจเลือดคั่งล้มเหลว
และไตวาย
ยาขับปัสสาวะ (diuretics) ยาเลือกกลุ่มแรก
ถ้าไม่ได้ให้ใช้ยาในกลุ่ม beta-adrenergic blockers
Atherosclerosis
ผู้ป่วย hyperlipidemia รักษาโดยให้ควบคุมอาหาร
งดรับประทานอาหารที่เป็นของทอด มีกะทิ ไขมันสูงและ
ให้ยารักษาพร้อมกับการออกกําลังกาย
อาการข้างเคียง คลื่นไส้ อึดอัดในท้อง ผื่นคันตามตัว
พบระดับของ transaminase, alkaline phosphatase และ uric acid ในเลือดสูง
2.Diabetes drugs
ยากลุ่ม sulfonylurea พบอาการ
ระดับน้ําตาลในเลือดตำ่ (hypoglycemia)
first generation
หลีกเลี่ยงยา chlorpropamide จะทำให้
ระดับโซเดียมในเลือดลดต่ำ
ยา tolbutamine ใช้ได้ดีในผู้สูงอายุ
3.Gastrointestinal drugs
ผู้ป่วยสูงอายุที่มีการเสื่อมของไต ยาลดกรดที่มี
aluminum นั้นจะลด bioavailability ของยา
บางชนิด และ ลด histamine2 (H2) blockers
ใช้ยาอย่างระมัดระวัง
histamine2 (H2) blockers
ใช้รักษาแผลในกระเพาะและลําไส้ ในผู้ป่วยหนักทำให้เกิดจิตสับสน(mental confusion)
การออกฤทธิ์ระหว่างกันของยา ระวัง cimetidine และ ranitidine จะยับยั้งการทํางานของ cytochrome P450
ในตับ
ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน กลุ่ม metoclopramide (Plasil, Nausil)
ฤทธิ์เป็น dopamine antagonist และ cholinergic agonist
อาการข้างเคียง เซื่องซึม สับสน และ
เกิด extra pyramidal side effects
4.Nonsteroidal anti-inflammatory drugs
ยา acetaminophen (Paracetamol) รักษาอาการปวด ยาเลือกตัวแรก ออกฤทธิ์สั้น
ยา naproxen (Naprosyn) และpiroxicam (Feldene) ลดอาการอักเสบ เพราะออกฤทธิ์ยาวกว่า
5.Psychotropic drugs
ยากลุ่ม major tranquilizers ใช้รักษาผู้ป่วย
โรคจิต คือ haloperidol (Haldol) มีฤทธิ์ทำให้
ง่วง และanticholinergic effects ตำ่ไม่มีผลต่อหัวใจ
ยา minor tranquilizers ยากลุ่ม benzodiazepines ใช้รักษาโรควิตกกังวล และอาการนอนไม่หลับเป็นครั้งคราว
ระวังการเกิดอุบัติเหตุ อาการสมองเสื่อม
ยากลุ่ม barbiturates ถ้าใช้เกินขนาดจะกด
การหายใจทําให้เสียชีวิต
ยา antidepressants ใช้รักษาในโรคซึมเศร้า (depression) ควรใช้ยา tricyclic antidepressants
เมื่อใช้ยาระวังเกี่ยวกับการทรงตัวขณะยืน
6.Antimicrobial drugs
รักษาการอักเสบติดเชื้อที่พบบ่อยคือ
โรคทางระบบหายใจและโรคทางระบบทางเดินปัสสาวะ
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial) ควรใช้อย่างระมัดระวัง เนื่องจากมีผลลดการทำงานของไต
7.Drugs used in Alzheimer’s disease
ยากลุ่ม MAO type B inhibitor ที่มี
selegiline (L-deprenyl)
Tacrine และ Donepezil
ยากลุ่ม cholinesterase inhibitor
สามารถเพิ่มความจําในผู้ป่วยบางราย
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยากับยาและ
ยากับอาหารในผู้สูงอายุ
Aspirin ได้รับร่วมกับ Heparin, Warfarin
เกิดเลือดออกแล้วหยุดยาก
ยากลุ่ม Cardiac glycosides ได้รับร่วมกับยา Quinidine ก่อให้เกิดพิษที่หู และไตได้รุนแรงขึ้น
ยากลุ่ม β blocker ที่ช่วยในการเต้นกับหัวใจ
ถ้าให้ร่วมกับกาแฟ ชา ทำให้เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะ
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
ความสามารถในการบริหารยา
ตระหนักรู้ในความจําเป็นต้องใช้ยา
มีความจําได้ในเวลาที่ต้องใช้ยา
มีความสามารถในการหยิบยา จากที่เก็บยา
ในจํานวนปริมาณของยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้องตามคําแนะนํา
ความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
การใช้ยาอย่างเหมาะสม
ตัวอย่าง เมื่อมีอาการปวดก็สามารถหยิบยามา
รักษาได้ถูกต้อง
การใช้ยาตามคําสั่งของแพทย์
เพื่อการรักษาให้เป็นไปตามคําสั่งของแพทย์
ความร่วมมืในการใช้ยา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
ความรู้ของผู้สูงอายุมีส่วนสําคัญ
ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยา
ความจําส่งผลต่อความร่วมมือในการใช้ยา
ตามคําสั่งของแพทย์อย่างต่อเนื่องและ
ถูกต้องตามแผนการรักษา
ความเชื่อและทัศนคติ โดยเฉพาะความเชื่อ
ที่ว่าตนจําเป็นต้องใช้ยาในการรักษาตนเอง
การใช้ยาหลายชนิดและความซับซ้อน
ของแผนการใช้ยา
การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตัวยา
ปัญหาการใช้ยาของผู้สูงอายุ
ปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
ความไม่ร่วมมือในการใช้ยา
การจัดการกับปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การจัดการเชิงรับ เริ่มเมื่อผู้สูงอายุ
เข้ารับบริการในโรงพยาบาล
การจัดการเชิงรุก
สำหรับผู้สูงอายุที่มาใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก
เน้นการให้ข้อมูล และการวางแผนการ
จำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้าน
การจัดการเชิงระบบ
จัดตั้งทีมที่ปรึกษาในทีมสุขภาพ เพื่อติดตาม
แนวโน้วการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
ผู้จัดการรายบุคคล (Case manager)
จัดตั้งระบบศูนย์ข้อมูล (Data center)
บทบาทของพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
บริหารยาให้แก่ผู้ป่วยโดยตรง
การสั่งใช้ยาซึ่งจะต้องเป็นไปตาม
พระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ปลอดภัย
โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพของการรักษาและ
ความปลอดภัยเป็นสําคัญ
หลัก 10 R
Right patientให้ยาถูกตัองในตัวบุคคล
Right drug ให้ยาถูกต้องตามแผนการรักษา
Right doseให้ยาถูกขนาดตามแผนการรักษา
Right route ให้ยาถูกต้องตามวิถีทาง
Right time ให้ยาได้ถูกต้องตามเวลา
Right document บันทึกข้อมูลการให้ยาอย่างถูกต้อง
Right client education ให้ข้อมูลความรู้
เกี่ยวกับยาและการใช้ยาอย่างถูกต้อง
Right to refuse ต้องให้สิทธิแก่ผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ได้แก่ การได้รับข้อมูล และสิทธิในการปฏิเสธยา
Right assessment ต้องประเมิน ตรวจสอบ
ประวัติการแพ้ยาก่อนให้ยาผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
Right evaluation การตรวจสอบปฏิกิริยาต่อกันของยาและมีการประเมินที่ถูกต้อง
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการบริหารยา
1.ความจําเป็นที่ต้องใช้ยา
2.ให้การวินิจฉัยที่ถูกต้อง
3.ขนาดของยาที่ตำ่ทำเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทา
สรีรวิทยา แต่การออกฤทธิ์ของยาต้องมีผลดีต่อการรักษา
5.ผลข้างเคียงหรือฤทธิ์ยาที่ไม่พึงประสงค์ ต้องระมัดระวัง และเมื่อมีอาการให้หยุดยาหรือปรึกษาแพทย์
4.รูปแบบของยาที่เหมาะสม
6.ปฏิกิริยาต่อกันของยา
7.ความชัดเจนของการอธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกวิธีรวมทั้งการเก็บรักษา
8.ไม่ควรให้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
การพยาบาลเพื่อบริหารยาในผู้สูงอายุ
ประเมินสภาวะของผู้สูงอายุด้านร่างกาย
จิตสังคม จิตวิญญาณ เศรษฐกิจ
กระตุ้นให้ทั้งผู้ป่วยและครอบครัวเห็นความสําคัญ
ของการใช้ยาที่ถูกวิธี และตรงตามแผนรักษา
มีการประเมินผล การรับรู้ ความเข้าใจและแนวคิด
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกับผู้สูงอายุ ต้อง
ชัดเจน เข้าใจง่าย เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วย
อธิบายถึงจุดประสงค์ของการใช้ยาแต่ละชนิด
อธิบายถึงความจําเป็นของการใช้ยา ไม่ซื้อยารับประทานเอง ไม่ใช้ยาของบุคคลอื่น
อธิบายถึงขนาดของยาที่ได้รับ
อธิบายเกี่ยวกับการกําหนดเวลาในการ
ได้รับยาและความหมายต่างๆ
เพื่อป้องกันการหลงลืม ควรใหัทําปฏิทิน หรือสมุดเล่มเล็กๆ หรือตารางบรรจุข้อความ
ดูแลให้ผู้สูงอายุใช้ยาให้ถูกชนิด ระวังการให้ยาผิด
ใช้ยาให้ถูกผู้ป่วย ยาชนิดเดียวกัน ขนาดเท่ากัน
สังเกตการเสื่อมสภาพและ การหมดอายุของยา
เก็บยาให้เป็นระเบียบ
ใช้ยาให้ถูกวิธีพร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ สังเกตฤทธิ์และอาการที่ไม่พึงประสงค์จากยาเพื่อช่วยเหลือได้ทันที
ให้รับประทานยาต่อหน้าและให้ดื่มน้ํามากๆ
ดูแลให้ได้รับนำ้และอาหาร