Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาในผู้สูงอายุ, นางสาวปัทมาศ บุญเชื่อม 61106010100 sce B02 -…
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
เภสัชวิยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetics)
การดูดซึมยา
(Drugs absorption)
ค่ากรดน้อยลง ทำให้การแตกตัวไม่ดี
ยาค้างนานทำให้ดูดซึมยาช้าลง
พื้นที่ผิวสำหรับดูดซึมในทางเดินอาหารลดลง
การกระจายตัวของยา
(Drugs distribution)
body fat เพิ่มขึ้น
ทำให้ยาที่ละลายในน้ำกระจายตัวได้น้อยลง
ยาละลายในไขมันได้ดี
lean body mass ลดลง
ทำให้ค่าครึ่งชีวิตยาบางตัวเพิ่มขึ้น
เกิดการสะสมยาในร่างกายได้
Albuminเป็นโปรตีนที่
จับกับยาที่เป็นกรดได้ดี
ในผู้สูงอายุมีลดลง
อนุพันธ์อิสระของยาเพิ่มขึ้น จนอาจจะก่อพิษได้
Alpha-1 acid glycoprotein
เป็นโปรตีนที่จับกับยาที่เป็นด่างอ่อนได้ดี
ผู้สูงอายุมีโปรตีนชนิดนี้เพิ่มขึ้นในเลือด
การออกฤทธิ์ของยาลดลง
ต้องใช้ปริมาณยาเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสภาพยา
(Drugs metabolism)
พบได้ในหลายตำแหน่งของร่างกาย
การกำจัดยาออกทางไต
(Drug elimination)
การขับยาออกได้ลดลง
มีโอกาศเกิดปัญหาเกี่ยวกับความเป็นพิษของยา
ในผู้สูงอายุจึงจำเป็นต้องคำนวณค่า GFR ตามสูตรเสมอ
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชพลศาสตร์
(Pharmacodynamic)
Dopaminergic system
Dopamine receptors ชนิด D2ลดลงใน striatum
มีความเสี่ยงที่จะเกิดผลข้างเคียงชนิด Parkinsonism จากการได้รับยาต้านอาการโรคจิตได้มากขึ้น
Cholinergic system
เอนไซม์ choline acetyltransferase ลดลง
จำนวน cholinergic cells ลดลง
Adrenergic system
การสร้าง cAMP ลดลงเมื่อถูกกระตุ้นด้วย
Beta-adrenergic agonists
จำนวน beta-adrenoryeptors ลดลง
beta receptor affinity ลดลง
การตอบสนองของ alpha2-adrenoreceptor ลดลง
Gabaminergic system
psychomotor performance ลดลงเมื่อตอบสนองต่อ benzodiazepines
การตอบสนองต่อ GABA ของ
postsynaptic receptor ลดลง
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากาารใช้ยาในผู้สูงอายุ
Cardiovascular drugs
Cardiac glycosides
Antiarrhythmics
Antihypertensive drugs
Atherosclerosis
Diabetes drugs
ควรมีการปรับขนาดยาลดลง
และค่อยๆเพิ่มขึ้นด้วยความระมัดระวัง
Gastrointestinal drugs
ระวังการสะสมของยาเกิดพิษขึ้นได้
Non-steroidol anti-inflammatory drugs (NSAIDs)
ถ้าต้องใช้ยา NSAIDsในการรักษาให้เลือดกลุ่มออกฤทธิ์สั้น
Psychotropic drugs
ยากลุ่ม major tranquillisers
ควรลดขนาดลงเมื่อใช้ในผู้สูงอายุ
ยาในกลุ่ม barbiturates กับผู้สูงอายุทั่วไปใช้เกินขนาดทำให้เสียชีวิตได้
Antimicrbial drugs
ผู้สูงอายุมีอุบัติการณ์ของโรคอักเสบติดเชื้อสูงขึ้น จึงใช้ยาต้านจุลชีพ
Drugs used in Alzheimer's disease
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยากับยาและยากับอาหารในผู้สูงอายุ
Aspirin ถ้าได้ร่วมกับ Heparin,Warfarin จะทำให้เกิดผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ นั้นคือภาวะเลือดออกไม่หยุด
ยากลุ่ม Cardiac glycosides ถ้าได้ร่วมกับยา Quinidine จะทำให้เกิดพิษจากยา Cardiac glycosides มากขึ้น
ปฏิกิริยายากับอาหารเกิดขึ้นได้ผู้สูงอายุใช้ยากลุ่ม เบต้า blocker ควรหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มี คาเฟอีน เพราะอาจจะรบกวนการแตกตัวของยา
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
ความสามารถในการบริหารยา
ความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างเหมาะสม
การใช้ยาตามคำสั่งของแพทย์
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
ความรู้ของผู้สูงอายุ
ความจำของผู้สูงอายุ
ความและทัศนคติของผู้สูงอายุ
การใช้ยาหลายชนิดและความซับซ้อนของแผนการใช้ยา
การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตัวยา
ปัญหาการใช้ยาของผู้สูงอายุ
ปฏิกกิริยาอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
ความไม่ร่วมมือการใช้ยา
บทบาทของพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
กับการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การบริหารยาใหเแก่ผู้ป่วยโดยตรง
โดยยึดหลัก 10R
Right patient
Right drug
Right dose
Right route
Right time
Right document
Right client education
Right to refuse
Right assessment
Right evaluation
การสั่งใช้ยาซึ้งจะต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ปลอดภัยโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพของการรักษาแลพความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การจัดการกับปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การจัดการเชิงรับ
กระทำเมื่อผู้สูงอายุเข้ารับ
บริการในสถานพยาบาล
การจัดการเชิงรุก
สำหรับผู้ป่วยนอก
การจัดการเชิงระบบ
จัดตั้งทีมที่ปรึกษา
การพยาบาลเพื่อบริหารยาในผู้สูงอายุ
ประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ
ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยและครอบครัวเห็นความสำคัญการใช้ยาที่ถูก
มีการประเมินผล การรับรู้ ความเข้าใจ
ภาษาที่ใช้ชัดเจน เข้าใจง่าย
อธิบายจุดประสงค์ยาแต่ละชนิด
อธิบายความจำเป็นของยาแต่ละชนิด
อธิบายถึงขนาดยาที่ได้รับ
อธิบายกำหนดเวลาในการรับยาและความหมายต่างๆ
ควรทำสมุด หรือปฏิทิน เพื่อกันลืมกินยา
ดูแลให้ผู้สูงอายุใช้ยาได้ถูกชนิด
ใช้ยาให้ถูกผู้ป่วย
ใช้ยาให้ถูกวิธีทางพร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
สังเกตฤทธิ์อาการที่ไม่พึ่งประสงค์จากยาเพื่อช่วยเหลือได้ทัน
ให้รับประทานยาต่อหน้าและดื่มน้ำเยอะ
ดูแลให้ได้รับน้ำและอาหารที่มีคุณค่าต่อร่างกาย
ไม่ซื้อยารับประทานเอง หรือนำยาของคนอื่นมารับประทาน
สังเกตการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยา
เก็บยาให้เป็นระเบียบ
ให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพของตนเองให้ถูกต้องเหมาสม
นางสาวปัทมาศ บุญเชื่อม 61106010100 sce B02