Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านมะเร็งและยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย - Coggle Diagram
ยาต้านมะเร็งและยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
Tumor
คำว่า Tumor ตามรากศัพท์ภาษาลำติน มีความหมายว่า เป็นก้อน เนื้อที่เกิดจากการบวมของเนื้อเยื่อ (Tissue Swelling) โดยทั่วไปแล้วถูกนำมาใช้ในความหมายว่า เป็นก้อนเนื้องอก
Benign neoplasma คือ เนื้องอกที่ไม่รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง
Malignant neoplasma คือ
เนื้องอกที่รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียงและแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง (metastasis)
Neoplasm
คำว่า Neoplasia หมำยถึง ก้อนเนื้องอกที่เกิดจำกกำรเพิ่ม
จำนวน และขนาดของเซลล์ อันเป็นผลเนื่องจำกสิ่งกระตุ้นใดๆและแม้ว่าสิ่งกระตุ้นดังกล่าวนั้นจะถูกกำจัดไปแล้วแต่เซลล์ที่ผิดปกตินั้น
มะเร็ง (Cancer)
มะเร็งเป็นกลุ่มของโรคที่เซลล์เจริญ หรือมีการแบ่งตัวที่ผิดปกติการที่
เซลล์เปลี่ยนสภาพไปจากปกติจะไม่อยู่ในการควบคุมวัฎจักรการแบ่งตัว
รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง
หรืออาจแพร่กระจายไปยังที่อื่นๆ
(metastasis)(การแพร่กระจายของเนื้อร้าย)
ลักษณะทั้งสามข้อนี้เป็นคุณสมบัติของเนื้อร้าย ซึ่งจะต่างจากเนื้องอกซึ่งไม่ร้ายแรงเพราะไม่รุกรานหรือ แพร่กระจาย และขนาดจะไม่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
Cancer chemotherapy
การผ่าตัด (Surgery)
การฉายแสง (Radiation)
การให้ยา (Chemotherapy)
การให้สารอิมมูน (Immunotherapy
Cancer chemotherapy
Chemotherapy เป็นยาที่รักษาด้วยการ “ฆ่าและยับยั้ง”
ของเซลล์มะเร็ง ขณะที่ยังอยู่ในร่างกาย
Growth fraction
Proliferating cells , Non-proliferating cells
Mechanisms of Antineoplastic Drugs (MOA)
Classification of Antineoplastic Drugs
phase of proliferation cycle source and action mechanisms
Principles of combination therapies
Growth fraction
Tumor cells สามารถแบ่งชนิดของเซลล์ดังนี้
proliferating cells เป็นเซลล์ที่มีการขยายตัว
non-proliferating cells. เป็นเซลล์ที่ไม่มีการ
ขยายตัว
อัตราส่วนของการเพิ่มการเจริญเติบโตเรียกเซลล์นี้ว่า
growth fraction(GF).
Proliferating cells
resting-phase (G0) เป็นระยะที่เซลล์อยู่ในระยะฟักตัว ไม่มีการเจริญเติบโต แต่พร้อมที่จะผ่านเข้าสู่ระยะ G1 เซลล์ในระยะนี้มักจะดื้อต่อยาเคมีบำบัด
Pre-synthetic phase (G1) หรือ pre-synthetic gap เป็นระยะที่เซลล์สร้าง RNA และโปรตีนจ านวนมาก เตรียมตัวพร้อมที่จะสร้าง DNA และแบ่งเซลล์ ระยะแรกเรียกว่า G1A ระยะที่สองเรียกว่า G1B ซึ่งมีระยะเวลาคงที่
Synthetic phase (S) เป็นระยะที่เซลล์สร้าง DNA เป็นจำนวนมากเพิ่มขึ้นเท่าตัว
Post-synthetic phase (Gap 2 phase or G2 phase) มีการสร้าง DNA ลดลง ส่วนการสร้างโปรตีนและ RNA ยังคงดำเนินต่อไป พร้อมกับมีการสร้าง Microtubular precusor ของ mitotic spinder เพื่อใช้ในการแบ่งตัว
Mitosis phase (M Phase)
เป็นระยะที่เซลล์แบ่งตัวแบบ mitosis เป็น 2
daughter cells และมีโอกาสเปลี่ยน แปลงต่อไป 3 ทางด้วยกันได้แก่
ผ่านเข้าสู่ระยะ G1 ของ cell cycle อีกครั้ง หรือ
ผ่านเข้าสู่ระยะ G0 หยุดพักการเจริญเติบโต หรือ
แก่ตัวเป็น differentiated cell และอาจจะแตกสลายไป
Classification of Antineoplastic Drugs
Cell cycle non specific drugs/Cycle-independent
drugs: ยาออกฤทธิ์ทำลายเซลล์ทุกระยะ ไม่ว่าเซลล์จะอยู่หรือไม่อยู่
ใน cell cycle ยาจะท าลายทั้งเซลล์ปกติและเซลล์มะเร็ง เนื่องจาก
ยามีผลท าลายเซลล์ที่ก าลังแบ่งตัวและไม่แบ่งตัว
Cell cycle specific drugs/Cycle-dependent drugs: ยาจะ
ออกฤทธิ์ได้ทุกระยะในวงจรของเซลล์ ยกเว้นเซลล์ไม่ได้อยู่ใน cell cycle
โดยยาแต่ละชนิดจะออกฤทธิ์เฉพาะที่ phase ใด phase
หนึ่งเท่านั่น (specific phase)
Classification of Antineoplastic Drugs
Alkylating agents
Antimetabolites,
Antimitotics (plant alkaloids)
Antibiotics
Hormones and antagonists
Miscellaneous agents.
Alkylating agents
MOA: ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ทุกระยะของวงจร (cell cycle nonspecific, CCNS) โดยรวมตัวกับ DNA ท าให้เกิดความผิดปกติด้านcross-linking ของ DNA strands และกลไกอื่นด้วย
ตัวอย่างของยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ nitrogen mustard,
cyclophosphamide, ifosfamide, cisplatin และ dacarbazine
Alkylating agents
ใช้ในการรักษา: มะเร็งรังไข่ มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมน้ำเหลือง Hodgkin’s disease,lymphoma
ผลข้างเคียง:
กดไขกระดูก (Bone marrow suppression) ทำให้ซีด (anemia)
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือดจะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบตาย (extravasation)
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบและมีเลือดออกในปัสสาวะ บรรเทาโดยการให้ mesna ร่วม เพราะ
mesna จับกับ acrolein ซึ่งเป็นเมทาบอไลต์ที่เป็นของยาในปัสสาวะ
ชาตามปลายมือปลายเท้า (paresthesias)
Antimetabolites
Antimetabolites ออกฤทธิ์จ าเพาะต่อระยะหนึ่งของวงจร
ชีวิตของเซลล์ (cell cycle specific หรือ CCS)คือ S phase ที่ก าลังสร้าง DNA ประกอบด้วย 3 กลุ่มย่อยคือ
Folic acid antagonists
Purine antagonists
Pyrimidine antagonists
Folic acid antagonists :
MAO: ออกฤทธิ์ห้ามการเปลี่ยน folic acid เป็น tetrahydrofolate ทำให้การสร้างnucleic acid หยุดชงัก ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ DNA และ RNA
ยากลุ่มนี้คือ Methotrexate, Pemetrexed
ใช้ในการรักษา: มะเร็งเม็ดเลือดขาว, มะเร็งต่อมน้ าเหลือง, มะเร็งเต้านม
ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (Bone marrow suppression) ทำให้ซีด(anemia) , พิษต่อตับ,พิษต่อไตในขนาดสูง, ผมร่วง (alopecia)
ยากลุ่มนี้ท าให้เกิดอาการ folate deficiency
ในเซลลปกติแกไขโดยการให Leucovorinรวมดวย
การดื้อยา: ลดการผ่านของยาเข้าเซลล์ และมีการเปลี่ยนแปลงเอนไซม์ Dihydrofolate
reductase
Antimitotics
ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่
ยากลุ่ม vinca alkaloids (plant alkaloids)
Vinblastin, vincristin
ยากลุ่ม taxanes
Paclitaxel, docetaxel
Plant alkaloids
MAO: ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยตรงต่อวงจรชีวิตของเซลล์ในระยะ Mitosisของเซลล์โดยจับกับ β- tubulin มีผลท าให้ β-tubulin จับกับ α- tubulin เพื่อกลายเป็นmicrotubule ไมได (Antimicrotubule drug) ทำให้เซลล์หยุด แบ่งตัวในระยะMetaphase (M phase) และเกิดการตายของเซลล์
ยาในกลุ่มนี้: Vinblastin, vincristin
ใช้ในการรักษา: มะเร็งปอด มะเร็งอัณฑะ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
ปลายประสาทอักเสบ (neurotoxicity)
ยากลุ่ม taxanes
MOA: จับกับหน่วยย่อยของ β- tubulin ทำให้เพิ่มการก่อตัวเป็น
microtubules แต่ยับยั้งการสลายของสาย microtubules
ยาในกลุ่มนี้: Paclitaxel, docetaxel
ใช้ในการรักษา: มะเร็งรังไข มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม
ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (bone marrow suppression) เกิดปฏิกิริยาการแพ้ เช่น ผื่นลมพิษ มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร ปลายประสาทผิดปกติ(peripheral neurotoxicity)
Antibiotics
ได้มาจากเชื้อราในดินที่เรียกว่า “Streptomyces”
ไม่จำเพาะต่อระยะวงจรของเซลล์ (cell cycle non-specific)
ยาในกลุ่มนี้: Dactinomycin, Doxorubicin, Daunorubicin, Bleomycin, Mitomycin
ผลข้างเคียง:
กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือดจะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบตาย(extravasation)
ผมร่วง (alopecia)
การดื้อยา: เกิดจากการขับยาออกนอกเซลล์มะเร็ง
hormones and antagonists
aromatase inhibitors เช่น aminoglutethimide, anastrozole,
exemestan (มะเร็งเต้านม, ต่อมหมวกไต)
antiestrogens เช่น Tamoxifen (มะเร็งเต้านม)
Hormone agentCorticosteroid เช่น prednisolone, hydrocortisone
Immunomodulators
ยาปรับภูมิคุ้มกัน คือ ยาที่กดหรือกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน
ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressants)
ยากระตุ้นภูมิคุ้มกัน (immunostimulants)