Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยพิบัติส่วนบุคคล, นางสาวพรนิภา มะโนนึก สสช.ปี4 เลขที่ 40 รหัส…
ภัยพิบัติส่วนบุคคล
สึนามิ
มาตรการ
-อพยพชุมชนที่ถูกคุกคาม
-การรับรู้สาธารณะและ โปรแกรมการศึกษา
-เตรียมรับมือ/เผยแพร่คำเตือน
การจัดการ
-การอพยพที่มีประสิทธิภาพ
-ค้นหาและช่วยเหลือ
-การเผยแพร่คำเตือนในเวลาอันรวดเร็ว
-ปัญหาการฟื้นตัวเป็นวงกว้าง และค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากมีความเสียหายอย่างรุนแรง
คุณลักษณะ
เวลาเตือนขึ้นอยู่กับระยะทางจากจุดกำหนดคลื่น
คลื่นสึนามิสามารถทำลายได้มากเมื่อความสูงของคลื่นสูง 30 เมตร
ความเร็วของคลื่นขึ้นอยู่กับความเร็วของน้ำที่เกิดจากการรบกวนของคลื่นไวสะเทือน
ไฟป่า
มาตรการ
-มาตรการบรรเทาผลกระทบ
-ระเบียบอาคาร
-ระเบียบป้องกันไฟ
-การรับรู้ของประชาชน เพื่อป้องกันและบรรเทา การเตรียมพร้อมในช่วงที่มีความเสี่ยงสูง
-ระบบตรวจสอบและเตือนภัยมีประสิทธิภาพ
-ประเมินความเสี่ยงถูกต้อง
การจัดการ
-เชื้อเพลิงเป็นเรื่องที่ควบคุมยาก
-การสร้างและบำรุงรักษา การดับเพลิงที่เพียงพอ
-สร้างระบบเตือนภัยที่เหมาะสม
-ประกาศเตือนภัยให้ทันเวลา
-ตระหนักและเตรียมพร้อมของชุมชน
-การเคลื่อนย้ายผู้อพยพออกจากพื้นที่เสี่ยง
คุณลักษณะ
ไฟป่าสามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วภายใต้ที่มีอุณหภูมิสูงและลมแรง
ผลกระทบเป็นอันตรายอย่างยิ่ง เกิดการสูญเสียอย่างมาก
-ภัยคุกคามไฟป่ามักจะเป็นตามฤดูกาล
แผ่นดินถล่ม
มาตรการ
-มีระบบตรวจสอบ หากมีการอพยพ
-การสร้างความตระหนักรต่อสาธารณะ
-กฎหมายการใช้ ที่ดินและอาคาร
การจัดการ
-การอพยพชั่วคราว ถูกต่อต้านจากชุมชนเมือง
-การฟื้นฟู มีค่าใช้จ่ายสูงและยากลำบาก
-ขัดขวางการดำเนินงาน เมื่อเผชิญเหตุ
-กรณีร้ายแรงไม่สามารถฟื้นฟูได้
-ในแต่ละพื้นที่การจัดการยากลำบากในการเข้าถึง
ลักษณะ
สาเหตุดินถล่มเกิดจากฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง
ระยะเวลาสัญญาณเตือนสั้น
แผ่นดินไหว
มาตรการ
-กฎระเบียบอาคาร
-การย้ายถิ่น
-ระเบียบการใช้ที่ดิน
-การรับรู้พื้นที่ปัญหาพิเศษ
-พัฒนาสัญญาณเตือน
การจัดการ
-ความยากในการเข้าถึง
-การสูญเสียอย่างกว้างขวาง
-ความเสียหายรุนแรงสร้างความต้องการ ตอบโต้อย่างเร่งด่วน
-ข้อกำหนดการกู้คืน ความยากในแต่ละพื้นที่ ทำให้เกิดปัญหา ทางด้านเศรษฐกิจ และการรับรู้
-ความยากลำบากในการเข้าถึง
ลักษณะ
มักไม่มีสัญญาณเตือน
ความเร็วในการเกิดอาจรวดเร็ว
ระยะเวลาการเตือนสั้น
อุบัติเหตุครั้งใหญ่
มาตรการ
-มีมาตรการควบคุมแผนการอพยพ และทดสอบเป็นระยะ
-บริการฉุกเฉนขององค์กรมีประสิทธิภาพ
-กฎระเบียบอาคารพิเศษ
-แผนภัยพิบัติมีประสิทธิภาพ
-ฝึกอบรมในการจัดผลกระทบของอันตราย
การจัดการ
-เหตุการณ์ไม่คาดคิดของการเกิดอุบัติเหตุ ทำให้มีความรุนแรงสูง
คุณลักษณะ
มีผลเสียอย่างแพร่หลาย
ไม่มีการเตือน เหตุการณ์เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
โดยทั่วไปมีความรุนแรงทางธรรมชาติ เช่น การระเบิดทางอุตสาหกรรม
ภูเขาไฟระเบิด
มาตรการ
-ติดตาม/เตือนภัย
-แผนการอพยพ และข้อตกลง
-ควบคุมเวลา
-การย้ายถิ่น
-ระเบียบการใช้ดิน
-การรับรู้สาธารณะและโปรแกรมการศึกษา
การจัดการ
-การตัดสินใจถูกต้อง ทันเวลา
-มองข้ามความสำคัญจากอันตรายจากปะทุเล็ก ๆ เป็นเรื่องยากในการดำเนินตามแผนอพยพ
-การเข้าถึงระหว่างการประทุ
-การควบคุมสังเกตการณ์เมื่อมีการอพยพ
คุณลักษณะ
การระเบิดของภูเขาไฟสามารถทำลายสิ่งต่างๆที่อยู่โดยรอบและยังทำให้เกิดเพลิงไหม้
ลาวาไหลสามารถทำให้เกิดไฟไหม้และทำให้ที่ดินใช้ไม่ได้
โดยปหติแล้วการปะทุครั้งใหญ่สามารถทำนายได้
เหตุการณ์ความไม่สงบ
การจัดการ
-ใช้ทรัพยากรองค์กรมากเกินไป
-ความยากในการจัดการความไม่สงบ
มาตรการ
-กำหนดมาตรการและกฎระเบียบฉุกเฉินพิเศษ
-การให้ข้อมูลเชิงบวกต่อต้าน กลุ่มก่อการไม่สงบ
-ใช้กฎหมายและข้อกำหนด อย่างแน่นหนา
คุณลักษณะ
-ความรับผิดชอบของ ตำรวจ/ทหาร/กองกำลังติดอาวุธ
-กิจกรรมรุนแรง เช่น การวางระเบิด
ภัยแล้ง
มาตรการ
-ขึ้นอยู่กับรัฐบาล และนโยบาย
-การตัดสินใจเกี่ยวข้องกับการยายถิ่นฐาน มักมีความอ่อนไหวและยาก
-วิธีแก้ปัญหาที่ง่าย และรวดเร็วมีน้อย ส่วน มาตรการที่มีประสิทธิภาพ มักจะระยะยาว
-ความร่วมมือระหว่างประเทศ มีความสำคัญในการรับมือ
การจัดการ
-ภัยแล้งส่งผลกระทบต่อการพึ่งพาตนเอง จึงยากที่จะถอนความช่วยเหลือ
-ด้านการขนส่ง อาจเกินขีดความสามารถของประเทศ
-ตอบสนองความต้องการ อาจมีความเข้มงวด และยืดเยื้อ
ลักษณะ
พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอาจมีขนาดใหญ่มาก
มีสัญญาณเตือนล่วงหน้าที่ยาวนาน
ระยะในการเกิดภัยแล้งสามารถเกิดขึ้นในเวลานาน
พายุหมุนเขตร้อน
มาตรการ
-ความพร้อมก่อนฤดูพายุโซนร้อน
-กฎระเบียบอาคาร
-การย้ายผู้คน ไปที่ปลอดภัย
-การรับรู้และการศึกษาสาธารณะ
-การเตรียมการเตือนที่มีประสิทธิภาพ เช่น ข้อควรระวังในระยะเวลาการเตือน
การจัดการ
-ความเสียหายอย่างกว้างขวาง และการสูญเสียของทรัพยากรการป้องกันภัยพิบัติ
-ค้นหาและช่วยเหลือ
-การประเมินผลกระทบและความต้องการอาจเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะสภาพอากาศเลวร้าย และปัญหาในการเข้าถึง
-การอพยพ, การฟื้นฟู
ลักษณะ
ความเร็วของการโจมตีจะค่อยๆ เพิ่มขึ้น
ผลกระทบหลัก มาจากแรงลมพายุคลื่นน้ำท่วม
มีการเตือนภัยยาวนานซึ่งมาจากการสังเกตการณ์ทางอุตุนิยมวิทยาสากล(รวมถึงการสำรวจระยะไกล)
โรคระบาด
มาตรการ
-เฝ้าระวัง และติดตามอย่างใกล้ชิดหลังเกิดภัยพิบัติ
-สนับสนุนทรัพยากรด้านการแพทย์
-มีแผนงานด้านการแพทย์ที่ดี
-ส่งเสริมการรับรู้ ผลกระทบของภัยพิบัติก่อนและหลัง
การจัดการ
-ขาดแคลนอุปกรณ์พิเศษ เช่น น้ำ
-บูรณาการความช่วยเหลือทางแพทย์จากภายนอก
-สูญเสียทรัพยากรทางการแพทย์
-ควบคุม และรักษาโรคที่พบบ่อย
ลักษณะ
การระบาดของโรค เกิดจากแหล่งอาหาร แหล่งน้ำมาตรฐานทางการแพทย์ไม่พอ เป็นต้น
การระบาดของโรคที่เกิดขึ้นเกิดจากสภาพความเป็นอยู่ที่ถูกกระทบจากภัยพิบัติ
น้ำท่วม
มาตรการ
-อุปกรณ์ฉุกเฉิน/สิ่งอำนวยความสะดวก/วัสดุ
-การย้ายถิ่น
-ระเบียบอาคาร
-การวางแผนการอพยพ
-กฎการใช้ที่ดิน
-การรับรู้สาธารณและโปรแกรมการศึกษา
-ควบคุมน้ำ
การจัดการ
-การช่วยเหลือ การแพทย์และสุขภาพ
-การสูญเสียสิ่งของ
-การเขาถึงเคลื่อนที่ได้ลำบาก
คุณลักษณะ
ความเร็วของการเกิดน้ำท่วมอาจจะค่อยๆเป็นค่อยๆไป หรือฉับพลัน
น้ำท่วมเกิดขึ้นตามฤดูกาล
น้ำท่วมมี 3 ประเภท ระยะยาว ระยะสั้นและฉับพลัน
นางสาวพรนิภา มะโนนึก สสช.ปี4
เลขที่ 40 รหัส 600842044