Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อต่อ Joint, นางสาว ศิริกัลญา สีอ่อนดี รหัสนิสิต 63010410099, image,…
ข้อต่อ Joint
ความผิดปกติของข้อต่อ (Joint disorder)
Ankylosis หมายถึง การที่กระดุกข้อต่อติดแน่นเคลื่อนไหวไม่ได้อีกต่อไป
Arthritis หมายถึง การอักเสบของเนื้อเยื่อรอบๆข้อต่อจะมีอาการปวด บวมและแดง
Bursitis หมายถึง การอักเสบของถุงน้ำลดการเสียดสี
Sprain หมายถึง การแพลงหรือบิดของข้อเท้าและทำให้เอ็นบริเวณนั้นฉีก
Dislocation หมายถึง การเคลื่อนของปลายกระดุกชิ้นหนึ่งไปจากที่อยู่เดิม
ลักษณะสำคัญของข้อต่อ
มี joint capsule และ ligament ทำหน้าที่ยึดกระดูกเข้าด้วยกัน
มี synovial membrane ทำหน้าที่สร้าง synovial fluid เพื่อหล่อลื่น
มีช่องว่างระหว่างข้อต่อ
ภายในข้อต่อ อาจมีแผ่นรองกระดูกอ่อน ทำหน้าที่รับแรงกระแทก
ชนิดของข้อต่อ
แบ่งตามองศาการเคลื่อนไหว
Amphiarthrosis เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล้กน้อย
Synarthrosis เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้
Diarthrosis เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ
แบ่งตามโครงสร้างที่อยู่ระหว่างกระดูก
Cartilagenous joint โครงสร้างที่อยู่ระหว่างกระดูกเป็นกระดูกอ่อน ข้อต่อชนิดนี้เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย และไม่มีเยื่อหุ้มข้อต่อ
Synchondrosis
Symphysis
Synovial joint โครงสร้างที่อยู่ระหว่างกระดูกเป็น synovial membrane และ synovial fiuid เป็นข้อต่อที่มีการเคลื่อนไหวมากที่สุด สามารถแบ่งตามการเคลื่อนไหวได้ ดังนี้
แบบวงรี (Condyloid joints) คือข้อต่อที่ทำมุมเคลื่อนไหวได้สองทาง
แบบอานม้า (Saddle joints) คล้ายกับบานพับ แต่เคลื่อนที่เป็นแบบแนวทางหน้าหลังและข้างๆ
แบบบานพับ (Hinge joints) คือข้อต่อชนิดที่ทำมุมเคลื่อนไหวได้ทางเดียวเหมือนบานพับประตู
แบบรูปเดือย (Pivot joint) คือ ข้อต่อชนิดที่มีเดือยและหมุนไปรอบๆเดือย
แบบเรียบ (Glinding joints) กระดูกทั้งสองชิ้นมีการเคลื่อนไหวโดยขยับหรือถูกซึ่งกันและกัน
แบบลูกหมาก (Ball-Socket joints) คือ ข้อต่อชนิดที่ทำมุมได้รอบและเป็นวงกลม
Fibrous joint ข้อต่อชนิดนี้จะเคลื่อนไหวไม่ได้
และไม่มีเยื่อหุ้มข้อต่อ
Suture
Syndesmosis
Gomphosis
นางสาว ศิริกัลญา สีอ่อนดี รหัสนิสิต 63010410099