Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง - Coggle Diagram
การวินิจฉัยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ขั้นตอนที่1
การซักประวัติหาสิ่งชี้นำที่ทำให้คิดถึงโรค
3.มีเสมหะมักมีเสมหะสีขาวถ้าเสมหะมีสีเขียวเหลืองอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนขึ้น
4.มีประวัติการสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงของโรคCOPD
การสูบบุหรี่
การได้รับควันจากการทำกับข้าวหรือการหุงต้มเชื้อเพลิงต่างๆ
การสัมผัสกับขยะและสารเคมีระหว่างทำงาน
2.อาการไอเรื้อรังแรกๆจะไอแบบเป็นๆหายๆแต่หลังๆไอเกือบตลอดทั้งวันทุกวัน
5.มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคCOPD
1.หายใจเหนื่อย(ผู้ป่วยจะบอกว่ารู้สึกเหมือนขาดอากาศหายใจ)
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีลักษณะเข้าได้กับสิ่งบ่งชี้ข้อใดข้อใดข้อหนึ่งดังกล่าวการดูแลเพิ่มเติมก่อนส่งผู้ป่วยไปรับการตรวจสมรรถภาพปอดด้วยspirometry ประกอบด้วย
2.การตรวจร่างกาย
ในระยะแรกของโรคอาจตรวจร่างกายไม่พบความผิดปกติ
ระยะต่อมาที่มีการอุดกั้นของหลอดลมมากขึ้นอาจตรวจพบลักษณะของ airflow.limitationและair.trapping
ในระยะท้ายของโรคอาจตรวจพบลักษณะของหัวใจขวาล้มเหลว(corpulmonale)
3.การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
ภาพรังสีทรวงอกซึ่งมีความไวน้อยสำหรับการวินิจฉัยโรคCOPDคือในผู้ป่วยโรคCOPDอาจตรวจพบภาพรังสีทรวงอกปกติหรือผิดปกติจากโรคCOPDก็ได้
1.การซักประวัติรายละเอียดเกี่ยวกับตัวโรค
ประวัติครอบครัวป่วยเป็นโรคCOPD
รูปแบบของการเกิดอาการของผู้ป่วย
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีตของผู้ป่วย
ประวัติการสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงของโรค
ประวัติของการเกิดอาการหอบกำเริบ
ประวัติโรคประจำตัวร่วมของผู้ป่วย
ถามหาผลของCOPDที่มีต่อชีวิตของผู้ป่วย
การมีครอบครัวและสังคมคอยช่วยสนับสนุนและดูแลผู้ป่วย
โอกาสที่ผู้ป่วยจะสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้โดยเฉพาะการเลิกสูบบุหรี่
ขั้นตอนที่2
การยืนยันการวินิจฉัยโรคCOPD ด้วยการตรวจสมรรถภาพปอดด้วย spirometry
1.การส่งตรวจspirometryเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรค
ถือเป็นตรวจที่objectiveที่สุดในการวัดairway.limitationเพราะผู้ป่วยที่มีอาการหอบหืดอาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้เช่นasthma,viral.induced.hyper.responsiveness,bronchiectasisเป็นต้นนอกจากนี้การส่งตรวจspirometryนี้สามารถวินิจฉัยโรคCOPDได้ตั้งแต่ระยะที่ผู้ป่วยยังไม่มีอาการของโรคเลย
** เกณฑ์การวินิจฉัยโรคCOPDคือค่าFEV1/FVCหลังให้ยาขยายหลอดลมนอ้ยกว่าร้อยละ70(ค่าFEV1/FVC.ratioที่ยิ่งน้อยยิ่งบอกถึงการมีairflow.limitation ที่มากขึ้น)ปัจจุบันจะไม่ได้ดูค่าreversible.of.airflow.limitationคือการวัดFEV1ก่อนและหลังพ่นยา bronchodilatorหรือcorticosteroidเป็นเกณฑ์การวินิจฉัยแล้ว
** ส่วนการตรวจด้วยวิธีPeak.expiratory.flow.measurementเพียงอย่างเดียวไม่น่าเชื่อถือพอที่จะเป็นการส่งตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคแม้ว่าจะเป็นวิธีการตรวจที่มีความไวสูงแต่มีความจำเพาะในการวินิจฉัยโรคค่อนข้างต่ำ
-FVC(forced.vital.capacity)คือการวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจออกแรงเต็มที่หลังจากให้ผู้ป่วยหายใจเข้าแรงเต็มที่
-FEV1(forced.expiratory.volume.in.one.second)คือการวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจออกในช่วง1วินาทีแรก
2.การส่งตรวจspirometryเพื่อจัดระดับความรุนแรงของโรค
จะใช้ค่าFEV1ร่วมกับอาการของโรคมาแบ่งความรุนแรงของโรคเป็น4ระดับ