Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึกการพยาบาล ตามปัญหาสำคัญที่พบใน…
หน่วยที่ 6 การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึกการพยาบาล
ตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
กระบวนการประเมินผู้สูงอายุ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
นั่งตรงข้ามผู้สูงอายุในระดับสายตา
พูดชัดเจน ระดับเสียงพอสมควร
รับฟังคำตอบอย่างตั้งใจ
ใช้เทคนิคการสะท้อนกลับ
ไม่ใช้อคติ
ระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที
มีทักษะในการใช้เครื่องมือในการประเมิน
มิติในการประเมิน
Physical assessment
การซักประวัติ
การประเมินท่าเดิน-time up and go test
การแปลผลในระยะทาง 3 เมตร
ใช้เวลาน้อยกว่า 10 วินาที = ปกติ
ใช้เวลา 10-19 วินาที = เคลื่อนที่ได้ดีพอใช้มีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง
ใช้เวลา 20-29 วินาที = มีภาวะพึ่งพาในการเคลื่อนไหวปานกลาง และมีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสูง
ใช้เวลามากกว่า 29 วินาที มีความเสี่ยงต่อการหกล้มต้องพึ่งพาสูง
การหกล้ม-fall assessment
Berg Balance Test
ให้เคลื่อนย้ายตนเองไปยังเก้าอี้ที่มีที่ท้าวแขน และไปยังเก้าอี้ที่ไม่มีที่เท้าแขน
กรุณายืนหลับตานิ่งๆ ประมาณ 10 วินาที
กรุณานั่งลง
กรุณายืนนาน2นาทีโดยไม่จับสิ่งใดๆ
หมุนตัวไปทางซ้ายให้มากที่สุดโดยพยายามมองสิ่งที่อยู่ด้านหลัง ทำเช่นเดียวกันกับข้างขวา
กรุณาหยิบรองเท้าที่วางอยู่หน้าเท้าคุณ
กรุณายกแขนขึ้นสองข้างขนานพื้น 90 องศา เอนไปข้างหน้ามากที่สุดเท่าที่ทำได้
กรุณายืนเท้าชิดกันสองข้างโดยไม่เกาะยึดสิ่งใด
กรุณายืนขาข้างเดียวให้นานที่สุดเท่าที่ทำได้ โดยไม่มีการจับยึดวัตถุใดๆ
วางเท้าข้างหนึ่งให้อยู่ด้านหน้าเท้าอีกข้างหนึ่ง
กรุณาลุกขึ้นยืน พยายามไม่ใช้มือยัน
กรุณาวางเท้าบนตั่ง ทีละข้างสลับกัน ทำซ้ำข้างละ 4 ครั้ง
กรุณาหมุนตัวกลับ 360 องศา โดยหมุนไปทางซ้ายให้ครบ หยุดพักและหมุนกลับไปทางขวา
กรุณานั่งหลังไม่พิงพนักเก้าอี้ มือสองข้างกอดอกนาน 2 นาที
ประเมินจาก 4 คะแนน คือ ทำได้โดยปกติ ไปจนถึง 0 คะแนน คือ ไม่สามารถทำได้ ต้องการคนช่วยป้องกันล้ม
45-56 คะแนน = ปกติ น้อยกว่า
45 คะแนน = ผิดปกติในการทรงตัวและเสี่ยงต่อการหกล้มสูง
การมองเห็น Visual acuity
snellen chart
ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ
การได้ยิน
ควรทำทุกคนด้วยการสังเกตการพูดคุย
การตรวจร่างกายโดยใช้ whisper-voice test
การประเมินภาวะโภชนาการ-Bw, Mini Nutritional Assessment
มีภาวะโภชนาการปกติ คะแนน = 12-14
มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร = 8-11
ขาดสารอาหาร = 0-7
การประเมินความพร่องของการนอนหลับ
สอบถามปัญหาในการนอนหลับ ได้แก่ นอนไม่หลับ นอนกรน นอนละเมอ ระบุระยะเวลาที่มีปัญหา และสอบถามเกี่ยวกับอาการง่วง อ่อนเพลียในตอนกลางวัน หากมีปัญหาควรส่งต่อแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรักษา
อาการที่พบบ่อย คือ ใช้เวลานานในการนอนหลับ นอนหลับไม่สนิท ตื่นเร็วกว่าปกติ หรือตื่นขึ้นมาไม่สดชื่น
Braden Scale
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
severe risk : total score <9
Moderate Risk: total score 13-14
High risk : total score 10-12
Mild Risk : total score 15-18
Functional Assessment
ความสามารถในการทำหน้าที่และปฏิบัติกิจกรรม โดยเป็นการผสานความสามารถด้านร่างกาย จิตใจและการรู้คิด สติปัญญา
การประเมินความสามาถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (BADL)
แปลผลจากคะแนน คือ 12 คะแนนขึ้นไป พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคมได้
5-11 คะแนน ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
0-4 คะแนน พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ
การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่อเนื่อง (IADL)
การประเมิน ความสามารถในกิจวัตรประจำวันขั้นสูง (Advance ADL)
การประเมินภาวะซึมเศร้า
แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (CMT)
Mental and cognitive Assessment
ประเมินการรับรู้เวลา สถานที่และบุคคล การคำนวณ การมีสมาธิและการตัดสินใจ
3 word recall : จำวัตถุ 3 สิ่งที่ไม่สัมพันธ์กัน แล้วถามซ้ำใน 3-5 นาที ควรจำได้ 2 สิ่ง
Digit Span Test ให้นับเลขไปข้างหน้าและถอยหลัง ซึ่งผู้มีภาวะสับสนเฉียบพลันจะทำไม่ได้
Social Function Assessment
สัมพันธภาพในครอบครัว
ลักษณะครอบครัว
แหล่งปรโยชน์และระบบบริการที่ผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าถึง
ภาวะเศรษฐกิจของผู้สูงอายุและครอบครัว
พฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพ
เครือข่ายการสนับสนุนทางสังคม
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเหมาะสมของบันไดและทางเดิน
การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ทีส่งผลต่อความปลอดภัย
ลักษณะพื้นบ้านและห้องน้ำ รวมถึงอุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ราวจับ
ความปลอดภัยของบ้านและสิ่งแวดล้อม
ความเพียงพอของแสงสว่างในที่อยู่อาศัย
ความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมการดำรงชีวิตได้อย่างอิสระ
แบบบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
แบบบันทึกวิถีโคจรความเจ็บปวดของผู้สูงอายุ (ATI)
วิถีโคจรความเจ็บป่วยก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
วิถีโคจรความเจ็บป่วยขณะอยู่ในโรงพยาบาล
แบบบันทึกการประเมินทาง
การพยาบาลผู้สูงอายุ (GNA)