Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม ของบุคคลแต่ละวัย, 5, 6, 7, 8, 9 - Coggle Diagram
การการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ของบุคคลแต่ละวัย
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
และการคัดเลือกบุคลากรที่จะมาดูแลผู้สูงอายุที่มีภูมิหลัง
หรือวัฒนธรรมแตกต่างกันเป็นปัจจัยที่สำคัญ
การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของผู้สูงอายุ
Mirabelle (2013) กล่าวถึงปัจจัยที่มีผลต่อ
การดูแลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุว่า
ประเด็นที่ควรพิจารณาในการ
พยาบาลข้ามวัฒนธรรมในผู้สูงอายุ
2) การสื่อสาร ควรใช้ภาษาที่ตรงกับภาษาที่ผู้สูงอายุสามารถสื่อสารได้ และใช้ภาษากายในการสื่อสารกับผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านความจำเสื่อม อัลไซม์เมอร์
3) สุขภาพและยาที่ใช้ ควรคำนึงถึงภาวะสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่ เช่น เบาหวาน หัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง
1) การเคารพนับถือความเป็นบุคคลของผู้สูงอายุ เช่น การเรียกชื่อ การใช้สรรพนาม การเคารพในสัญชาติ ภูมิหลัง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
4) การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันอุบัติเหตุ
ความปลอดภัยของผู้สูงอายุเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง
5) ความสามารถในการเคี้ยวและกลืน ไม่ควรจัดอาหารที่เหนียวเกินไป แข็งเกินไป จัดอาหารรสชาติที่ผู้สูงอายุชอบเช่น รสจืด ไม่เผ็ด รสหวาน
6) การดูแลด้านจิตสังคม ควรจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดี ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคมต่างๆ เช่น การเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อที่ผู้สูงอายุมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง
ผู้สูงอายุในแถบตะวันออกมักจะมีความต้องการ
พึ่งพาลูกหลานและครอบครัวมากกว่า
ผู้สูงอายุในแถบประเทศตะวันตกค่อนข้างจะให้
ความสำคัญของการคำนึงถึงความเป็นบุคคลและ
การมีอิสระในการดำเนินชีวิตด้วยตนเองให้มากที่สุด
บุคคลวัยผู้สูงอายุขึ้นกับ คุณค่า ความเชื่อ
ของผู้สูงอายุ ซึ่งมีความแตกต่างกัน
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ของบุคคลวัยผู้ใหญ่
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัย
ผู้ใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลาม
โดยเฉพาะขณะผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยที่ทำการละหมาดเป็นสิ่งสำคัญ
ศาสนกิจที่สำคัญของชาวมุสลิม ได้แก่ การละหมาดวันละ 5 เวลา
การถือศีลอด การทำฮัจญ์ เป็นต้น
การดูแลทำความสะอาดผู้ป่วย
สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1.ผู้ป่วยที่สามารถทำความสะอาดได้ อาจจะทำด้วยตนเอง
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำความสะอาดได้ก็ให้ทำความสะอาดเท่าที่สามารถจะกระทำได้ การละหมาดของเขาก็ใช้ได้ โดยไม่ต้องละหมาดชดใช้อีก
3.ผู้ป่วยที่มีนะญิส (สิ่งสกปรกที่ต้องชำระให้สะอาดตามหลักนิติบัญญัติอิสลาม) ติดตัวอยู่ตลอดเวลา ได้เราต้องแนะนำให้ผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณดังกล่าวตามปกติหรือตามคำแนะนำของแพทย์
ศาสนกิจที่สอดคล้องกับเดือนในปฏิทินฮิจเราะห์ศักราช
ซึ่งจะมีจำนวนวันน้อยกว่า ปฏิทินตามพุทธศักราช(จันทรคติ)
คือ การมีสุขภาพดีที่เอื้อต่อการประกอบศาสนกิจใน
โอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็นศาสนกิจภาคบังคับ และเพิ่มเติมอื่นๆ
สำหรับชาวมุสลิมนั้น ตัวชี้วัดด้านคุณภาพชีวิตที่สำคัญ
สตรีตั้งครรภ์และหลังคลอดชนเผ่าม้ง
ภาคเหนือ ประเทศไทย
หญิงหลังคลอดทุกคนจะอยู่ไฟประมาณ 1 เดือน
เพราะมีความเชื่อว่าการอยู่ไฟจะทำ ให้สุขภาพแม่ดี
แข็งแรง และช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
อาหารที่รับประทานก็จะเป็นพวกไก่ ไข่ ซึ่งจะรับประทานประมาณ 30 วัน
เมื่ออยู่ไฟครบจะทำ พิธีบนผีหรือทำ ผีเพื่อให้คุ้มครองเด็ก
ก่อนที่จะพาเด็กออกจากบ้านหรือเดินทางไปไหนไกลๆ
หญิงหลังคลอดเผ่าม้งจะมีความเชื่อในการปฏิบัติที่ทำให้มีนํ้านมมาก
หญิงตั้งครรภ์ยังมีข้อพึงปฏิบัติตามความเชื่อคือ ให้นำ หัวปลาไหลแห้ง ผักปลังดิน ใบหนาด มามัดรวมกันแล้วแช่อาบนํ้าทุกวันในระยะท้องแก่ใกล้คลอดเชื่อว่าจะทำ ให้คลอดง่าย
โดยการเชิญหมอผีทำ พิธีเรียกนํ้านม ซึ่งจะทำคล้ายๆ การบนผี
หญิงตั้งครรภ์ก็จะถูกแนะนำ ให้กินแกงผักพื้นบ้าน ชื่อผักปรัง
ซึ่งมีลักษณะลื่นๆ เพื่อจะทำ ให้ลูกคลอดไม่ลำบาก
รวมทั้งมีการกินยาสมุนไพรที่มียางสีขาว กินมะละกอต้มใส่ไก่
หญิงตั้งครรภ์จะถูกแนะนำ ให้ดื่มนํ้ามะพร้าวเมื่ออายุครรภ์ได้
ประมาณ 7-8 เดือนเพราะจะทำ ให้ ลูกไม่มีไขคลอดง่ายและมีผิวสวย
วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
2.วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน อายุ 40 ปีถึง 60-65 ปี
เป็นวัยที่ได้ผ่านชีวิตครอบครัว
3.วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป เป็นวัยของความเสื่อมถอยของร่างกาย สภาพจิตใจ และบทบาททางสังคม
1.วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี
วัยนี้มีพัฒนาการเต็มที่ของร่างกาย วุฒิภาวะทางจิตใจอารมณ์
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ในวัยผู้ใหญ่ชาวจีน
ความเชื่อด้านสุขภาพของ
ชาวจีนมีหลายประการ
2.การใช้การรักษาดั้งเดิม (Traditional treatments)
ชาวจีนนิยมการรักษาด้วยการแพทย์แผนจีน เช่น การฝังเข็ม
3.การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค โสมจีน มีความเชื่อว่า มีฤทธิ์ลดความเครียด เพิ่มภูมิคุ้มกันโรค และส่งเสริมความรู้สึกทางเพศ
1.ถ้าร่างกายแข็งแรงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์ ไม่ค่อยสนใจการตรวจคัดกรองเพื่อการป้องกันโรค (Preventive screening) เช่น ตรวจร่างกายประจำปี
แนวทางการดูแลผู้ใช้บริการ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับผู้ใช้บริการชาวจีนด้วยภาษาจีนง่ายๆ หรือตามความสนใจ หากสื่อสารไม่ได้ อาจสื่อสารผ่านญาติ หรือใช้ล่ามแปล
เลือกใช้วิธีการพยาบาลบนพื้นฐานของ
การบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาล
การคงไว้ซึ่งแบบแผนของการดูแลเชิง
วัฒนธรรมระบบพื้นบ้านและของวิชาชีพ
การปรับเข้าหากันระหว่างแบบแผนของการดูแล
เชิงวัฒนธรรมของพื้นบ้านและของวิชาชีพ
การปรับเปลี่ยนแบบแผนของวัฒนธรรมเพื่อ
พัฒนาแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมขึ้นใหม่
ศึกษาวัฒนธรรมของชาวจีนในด้านต่างๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถให้การพยาบาลสอดคล้องกับวัฒนธรรมของผู้ใช้บริการกลุ่มนี้ เช่น ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และความเชื่อ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ของบุคคลวัยเด็กและวัยรุ่น
ประเทศกัมพูชา
เมื่ออายุ 10 ขวบ เด็กหญิงจะเริ่มช่วยงานบ้านได้
ส่วนเด็กผู้ชายต้องช่วยงานในไร่นาภายใต้การควบคุมของผู้ใหญ่
เด็กผู้ชายบางคนบวชเป็นสามเณร ในยุคก่อนคอมมิวนิสต์
เด็กส่วนใหญ่จะเริ่มไปโรงเรียนเมื่ออายุ 7-8 ปี
พ่อแม่มีอำนาจปกครองจนกว่าบุตรจะแต่งงาน
เด็กจะมีอิสระมากขึ้น เด็กอายุ 5 ขวบจะสามารถช่วยดูแลน้องๆได้
ชาวกัมพูชาจะให้การเคารพแพทย์เพราะถือว่า
เป็นบุคคลที่อยู่ในชั้นที่สูงกว่าในสังคม
เด็กในกัมพูชาจะได้รับการเลี้ยงดูจนกว่าจะอายุประมาณ 2-4 ปี
เวลาผู้ป่วยคุยกับแพทย์จึงก้มหน้าไม่สบตา
สตรีที่ตายเพราะการคลอดบุตรจะเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของปีศาจ
นอกจากนี้ชาวกัมพูชาถือว่าศีรษะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ผู้ให้บริการด้านสุขภาพไม่ควรแตะศีรษะผู้ป่วยก่อนได้รับอนุญาตจากผู้ป่วยเองหรือจากบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
การเกิดของเด็กเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจในครอบครัว
การเกิดถือว่าเป็นอันตรายทั้งต่อแม่และเด็ก
ประเทศจีน
ในวันนี้จะเป็นการอาบน้ำให้เด็กเป็นครั้งแรกนับแต่คลอด
จึงต้องพิถีพิถันตั้งแต่การเลือกภาชนะ น้ำ รวมถึงผู้ประกอบพิธี น้ำที่ใช้อาบมีชื่อเรียกว่า “ฉางโซ่วทัง” มีความหมายว่า น้ำอายุมั่นขวัญยืน
สำหรับเด็กที่เกิดในประเทศจีน เมื่อครบสามวันจะมีพิธีล้างวันที่สาม
ชาวปักกิ่งในสมัยราชวงศ์ชิงจะนำสมุนไพรจีนใส่ลงในน้ำ
เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อและอนามัยต่อสุขภาพของเด็ก
จีนชื่นชอบลูกผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ในอดีตความต้องการ
มีลูกชายไว้สืบสกุลเพราะมีลูกได้เพียงคนเดียว
ยังมีชาวจีนบางกลุ่มที่นิยมใส่ต้นหอมหรือนำเศษเหรียญใส่ลงในน้ำ เพราะต้นหอมหรือชงในภาษาจีนพ้องเสียงกับคำว่า “ชงหมิง” ที่แปลว่า ฉลาดหลักแหลม
เพื่อมุ่งหวังแก้ไขปัญหาในเชิงโครงสร้างประชากรจีนในระยะยาว
ผู้ประกอบพิธีมักเป็นหญิงวัยกลางคนหรือหญิงชราที่มีครอบครัวแล้ว
แต่ในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนนโยบายให้สามารถมีลูกคนที่สองได้
หญิงที่มีบุตรยากจะถือโอกาสในวันนี้ แย่งกันเอาน้ำที่ได้
หลังจากการอาบให้เด็กมาอาบตัว เชื่อว่าจะช่วยให้สามารถมีบุตรได้
ในอดีตประเทศจีนจะมีนโยบาย “ลูกคนเดียว (One child policy)”
พิธีครบเดือนหรือที่ชาวจีนโบราณเรียกว่า “หมีเย่ว์”
ประกอบไปด้วยการโกนผมไฟ การจัดเลี้ยงในหมู่ญาติ
สนิทมิตรสหาย และการตั้งชื่อให้เด็ก
ผู้ที่รับหน้าที่โกนผมจะเอาใบชาที่อมจนเปื่อยในปากชโลมลงบนศีรษะเด็ก
ด้วยเชื่อว่าใบชาเขียวจะช่วยฆ่าเชื้อโรคบนศีรษะทารกและลบรอยแผลเป็น
เส้นผมที่โกนทิ้งจะไม่โยนทิ้ง แต่จะเก็บรวมกันและนำ
มาสานเป็นแผ่น แล้วจึงนำไปวางไว้หัวเตียง
ประเทศไทย
ส่วนความเชื่อในการดูแลเด็กของคนไทยในภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จะคล้ายคลึงกับประชากรในประเทศลาว
ได้แก่ การประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น การสะเดาะห์เคราะห์
การผูกข้อมือเรียกขวัญ การบูชาบวงสรวง การใช้สมุนไพร
ศาสนาคริสต์เชื่อว่าทุกคนเป็นบุตรของพระเจ้า
มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน
ประเทศไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ความเชื่อเกี่ยวกับ
การดูแลเด็กก็จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละสังคม แต่ละภูมิภาค
ศาสนาคริสต์เชื่อว่าเด็กเป็นของขวัญจากพระเจ้า ต้องดูแล
ให้เติบโตในทางที่ดี เมื่อเด็กเกิดมาต้องเข้าพิธีบัติศมาเพื่อ
แสดงถึงการชำระเพื่อให้พ้นจากความบาป
ตัวอย่างเช่น ในสมัยโบราณจะมีพิธีการสู่ขวัญเด็กเมื่ออายุครบ 1 เดือนและมีการโกนผมไฟด้วย เพราะเชื่อว่าจะทำ ให้เด็กที่มีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วยง่าย
ความเชื่อเกี่ยวกับเด็กหรือลูกของแต่ละศาสนาจะแตกต่างกันไป เช่น ศาสนาอิสลามเชื่อว่าลูกเป็นของขวัญจากองค์อัลลอฮ์ เป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ความเชื่อในการดูแลเด็ก
น้ำนม เชื่อว่า ถ้าเอาน้ำนมของคนทาที่ศีรษะ
ของเด็กทารกที่มีผมบาง จะทำให้ผมขึ้นดกหนา
จกคอละอ่อน คือการที่แม่ช่าง (หมอตำแย) หรือหมอ
ทำคลอดใช้นิ้วมือล้วงเข้าไปในลำคอของทารกแรกคลอด
เม่า เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับเด็กทารกในช่วงที่ยังกินนม
อาการคือ บริเวณรอบริมฝีปากและลิ้น
รก ชาวล้านนาเชื่อว่าหลังจากคลอดแล้วแต่รกไม่ออกตามมา
ความเชื่อเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็กจะได้รับอิทธิพล
จากสังคมรอบข้าง โดยเฉพาะผู้ปกครอง เช่น
การบอกกล่าวของบิดามารดา คำสั่งสอนของปู่ย่าตายาย
การประยุกต์ใช้การพยาบาล
ข้ามวัฒนธรรมในการดูแลเด็ก
หากสื่อสารไม่ได้หรือไม่มีประสิทธิภาพ
อาจสื่อสารผ่านญาติที่เป็นคนไทย หรือการใช้ล่าม
อาจทำรูปภาพสื่อสารแทนภาษาพูด คู่มือหรือแนวทางการดูแล
เด็กป่วยของครอบครัวที่เป็นภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาพม่า
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับเด็กตามพัฒนาการของ
เด็กรวมทั้งผู้ดูแลเด็กด้วยภาษาง่ายๆ
การปฏิบัติพยาบาลควรใช้กระบวนการพยาบาลควบคู่กับ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมตามแนวคิดไลนิงเจอร์
ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัวในด้านต่างๆ ตัวอย่างคำถามเช่น “มีอะไรพิเศษที่เกี่ยวกับความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของครอบครัว
ที่ดิฉัน/ผม ควรได้รับทราบ