Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางจลศาสตร์
การดูดซึม
ค่าความเป็นกรดลดลง
อาหารผ่านกระเพาะช้าลง
pH สูงขึ้น ยาที่มีฤทธิ์เป็นกรดจะแตกตัวได้ดีกว่ายาที่มีฤทธิ์เป็นเบส
การกระจายตัวของยา
ไขมันสะสมในร่างกายมากขึ้น
ยาที่ละลายในไขมันได้ดีจะมีโอกาสที่ยาสะสมในไขมันได้เพิ่มขึ้น
สัดส่วนของน้ำในร่างกายลดลง ทำให้การกระจายตัวของยาลดลง
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายโดยเฉพาะตับ ไตและเนื้อเยื่อ ลดลง
การเปลี่ยนแปลงสภาพของยา
ขนาดของตับลดลง เลือดที่ไหลเวียนไปตับลดลง
กระบวนการ First pass metabolism ลดลง
การกำจัดยาออกทางไต
เลือดไหลผ่านไตและมี GFR ลดลงอย่างมาก
การคำนวณค่า eGFR
ญ eGFR = (140-อายุ) x (น้ำหนักผู้ป่วย) x 0.85 / 72 x Cr
ช eGFR = (140-อายุ) x (น้ำหนักผู้ป่วย) / 72 x Cr
ระยะที่ 1 eGFR > 90 ml/min : ตรวจพบพยาธิสภาพแต่การกรองปกติ
ระยะที่ 2 eGFR 60-90 ml/min : การกรองผิดปกติเล็กน้อย
ระยะที่ 3 eGFR 30-59 ml/min : การกรองผิดปกติปานกลาง
ระยะที่ 4 eGFR 15-29 ml/min : การกรองผิดปกติรุนแรง
ระยะที่ 5 eGFR < 15 ml/min : ระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย
การเปลี่ยนแปลงทางพลศาสตร์
Dopaminergic system
D2 receptor ลดลงเรื่อยๆ อาจทำให้เกิดภาวะ parkinsonism
Cholinergic system
acetylcholine transferase ทำงานลดลง
ทำให้ Cholinergic cell ลดลง
สัมพันธ์กับการเกิดโรค Alzheimer's disease
Adrenergic system
cyclic AMP เป็นตัววัดการทำงานของ beta-adrenergic receptor ลดลง
การตอบสนองของ alpha adrenoceptor ต่อ clonidine ลดลงในผู้สูงอายุ
Gabaminergic system
Psychomotor performance เสียจากการได้รับยา benzodiazepines
มี sensitivity ของ benzodiapines receptor ในผู้สูงอายุ
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดอาการไม่พึ่งประสงค์ในการใช้ยาในผู้สูงอายุ
Cardiovascular Drugs
Cardiac glycosides
ใช้รักษา atrial arrhythmic , CHF
เนื่องจาก Cr clearance ลดลง เป็นผลทำให้มีการเพิ่มขึ้นของค่าครึ่งชีวิตของการขับ digoxin
Antiarrhythmics
ควรใช้เฉพาะผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดรุนแรง
ไม่ค่อยใช้ในผู้สูงอายุเพราะอาจทำให้เกิด HF
Antihypertensive
ช่วยลดอุบัติการณ์ของโรคลมอัมพาตและไตวาย
ยากลุ่มที่เลือกใช้คือยาขับปัสสาวะ และ observe ระดับโปแทสเซียม
ยากลุ่ม calcium antagonist เช่น verapamil , nifedipine ปลอดภัยแต่ราคาแพง ต้องทานยาวันละหลายรอบเพราะครึ่งชีวิตสั้น
angiotensin - converting enzyme inhibitor มีผลข้างเคียงคือ ไอมาก เช่น captopril , enelapril ยาขับออกทางไต ควรระวังในผู้ป่วยโรคไต
methyldopa ลด SNS activity ทำให้เกิดอาการซึมเศร้า
Atherosclerosis
จะมีผลข้างเคียงมากขึ้นหากนำมาใช้ในผู้สูงอายุ เช่น bile acid binding resins nicotinic acid
toxic ของยา คลื่นไส้ อึดอัดท้อง ผื่นคันตามตัว ระดับ alkaline phosphatase (มีภาวะตับอักเสบ)
Diabetes Drugs
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเบาหวานไม่พึ่งอินซูลิน มักใช้ยากลุ่ม sulfonylurea แต่อาจพบอาการไม่พึ่งประสงค์ คือ hypoglycemia
ยากลุ่มนี้ถูก แมทาบอไลท์ที่ตับและไต ดังนั้นควรระวังในผู้สูงอายุที่มีปัญหาตับและไต
Gastrointestinal Drugs
หากผู้สูงอายุที่ทานยาลดกรดที่ประกอบด้วย aluminium และ magnesium hydroxide นานๆ อาจจะสะสมจนเกิดพิษได้
NSAIDs
ถ้าต้องการรักษาเรื่องการปวดต้องใช้ acetaminophen
ไปลด PGE2 ทำให้เกิดแผลในกระเพราะอาหารได้
ASA ลดการเกาะกลุ่มของ platelet ลดการอักเสบและปวด มักให้คู่กับยาลดกรด
Psychotropic Drugs
ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะทางจิต เช่น schizophrenia ควรลดขนาดลงเมื่อใช้ในผู้สูงอายุ
ยาที่ควรใช้คือ Haloperidol เนื่องจากมีฤทธิ์ทำให้ง่วงและไม่มีผลต่อหัวใจ
ยากลุ่ม Barbiturates ถ้าใช้เกินขนาดจะกดการหายใจทำให้เสียชีวิตได้
Antimicrobial Drugs
หลักการใช้เช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป แต่การเปลี่ยนแปลงของอายุอาจมีผลต่อเภสัชจลศาสตร์ของยา
ยาจะถูกขับออกทางไต ทำให้ครึ่งชีวิตของยาเปลี่ยนไป เช่น betalactam , aminoglycosides
Drugs use in Alzheimer's disease
ส่วนใหญ่เน้นไปที่ยา cholinomimetic drugs ที่มีประสิทธิภาพการรักษาสูง
ยากลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงและควรหลีกเลี่ยงในผู้สูงอายุซึ่งอ่อนแอ
Sedatives-hypnotics
Antidepressants
Antihypertensive
NSAIDs
Oral hypoglycemic
Analgesics
Platelet inhibitors
Muscle relaxants
GI antispasmodics
Antiemetic drugs
Antihistamines
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยากับยาและยากับอาหาร
ผู้ป่วยอาจได้รับยาหลายชนิดในการรักษา อาจส่งผลให้เกิดพิษและผลข้างเคียง
ASA ถ้าได้ร่วมกับ Heparin , Warfarin : Bleeding
ยากลุ่มCardiac glycosides ถ้าได้รับร่วมกับยา Quinidine : พิษต่อหู หัวใจเต้นผิดจังหวะ N/V
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
ความสามารถในการหยิบการจำยาถูกต้อง
ความตระหนักในการใช้ยา
หากมีอาการก็หยิบยามาทานได้ตามความเหมาะสม
การจัดการปัญหาการใช้ยา
การจัดการเชิงรับ : ทำเมื่อผู้สูงอายุอยู่ในสถานพยาบาล แก้ไขพฤติกรรมที่มีปัญหา
การจัดการเชิงรุก : เน้นให้ข้อมูลผู้ป่วยก่อนกลับบ้าน
การบริหารยาที่ควรคำนึง
10R
คำนึงถึงการใช้ยา
คำนึงถึงความจำเป็นและผลข้างคียงของยา
ความชัดเจนในการอธิบายยา
รูปแบบการทานยาที่เหมาะสม