Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ สุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติ สุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
มาตรา ๑
“พระราชบัญญัติสุขภาพจติ พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
แพทย์ หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
หมวด ๑ คณะกรรมการ
ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
มาตรา ๕
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ
มาตรา ๖
กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) มีสัญชาติไทย มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ
มาตรา ๗
กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๘ นอกจากการพ้นจากต่ำแหน่งตามวาระ ตาย ลาออก
มาตรา ๙
การประชุมต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
มาตรา ๑๐
คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ กำหนดนโยบาย วางหลักเกณฑ์และวิธีการ
มาตรา ๑๑
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งที่ปรึกษา
ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
มาตรา ๑๒
จิตแพทย์ประจําสถานบําบัดรักษาหนึ่งคน
เป็นประธานกรรมการ
แพทย์หนึ่งคน
พยาบาลจิตเวชหนึ่งคน
มาตรา ๑๓
ตรวจวินิจฉัย ประเมินอาการและมีคําสั่งตามมาตรา ๒๙
หมวด ๒
สิทธิผู้ป่วย
มาตรา ๑๕
ได้รับการบําบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
มาตรา ๑๖
ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย ในประการที่นำจะทําให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้ป่วย
มาตรา ๑๗
การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ แยกผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้
มาตรา ๑๘
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทําต่อสมองหรือระบบประสาทการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใด
มาตรา ๑๙
การทําหมันผู้ป่วยจะกระทําไม่ได้ เว้นแต่ได้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘(๑)
หมวด ๓ การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ ๑ ผู้ป่วย
มาตรา ๒๑
การบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็นในการบําบัดรักษา
มาตรา ๒๒
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้เป็นบุคคล ต้องได้รับการบำบัดรักษา เช่น มีภาวะอันตราย
มาตรา ๒๓
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา ๒๒
มาตรา ๒๔
ให้ดําเนินการนําตัวบุคคลนั้นไปยังสถานพยาบาลของรัฐ
มาตรา ๒๕
มีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคล นั้นมีลักษณะตามมาตรา ๒๒ ให้ดําเนินการส่งตัวบุคคลนั้นไปยังสถานพยาบาลของรัฐ
มาตรา ๒๘
บุคคลใดมีลักษณะตามมาตรา ๒๒ ให้ส่งตัวบุคคลนั้น พร้อมกับรายงานผลการตรวจวินิจฉัย
มาตรา ๒๗
ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องต้นบุคคลที่มีการนําส่งตามมาตรา ๒๔
มาตรา ๒๖
ในกรณีฉุกเฉิน พบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลที่มีความผิดปกติ
มาตรา ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔
ให้คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีอำนาจสั่งย้ายไปรับการรักษาที่อื่น
ที่ผู้ป่วยหลบหนีออกนอกเขตสถานพยาบาลของรัฐให้ปรัสานงานกับฝ่ายปกครองเพื่อติดตามบุคคลนั้น
เมื่อผู้ป่วยหายดีแล้ว แพทย์สามารถจำหน่ายได้
ส่วนที่ ๒ ผู้ป่วยคดี
มาตรา ๓๕
ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจําเลยไปรับการตรวจที่สถานบําบัดรักษาพร้อมทั้ง รายละเอียดพฤติการณ์แห่งคดี
มาตรา ๓๖
ให้สถานบําบัดรักษารับผู้ต้องหาหรือจําเลยไว้ควบคุมและบําบัดรักษาโดยไม่ต้องได้รับความยินยอม จากผู้ต้องหาหรือจําเลย
มาตรา ๓๗
ให้ศาลส่งสําเนาคําสั่งไปพร้อมกับผู้ป่วยคดี และให้สถาน บําบัดรักษารับผู้ป่วยคดีไว้ควบคุมและบําบัดรักษาโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยคดี
มาตรา ๓๘
เมื่อจิตแพทย์ผู้บําบัดรักษาเห็นว่า ผู้ป่วยคดีได้รับการบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและไม่มีภาวะอันตรายแล้ว ให้จิตแพทย์รายงานผลการบําบัดรักษาและความเห็นเพื่อจําหน่ายผู้ป่วย
มาตรา ๓๙
ให้ศาลส่งผู้ป่วยคดีพร้อมทั้งสําเนาคําพิพากษาไปยังสถานบําบัดรักษา
ส่วนที่ ๓ การฟื้นฟูสมรรถภาพ
มาตรา ๔๐
แจ้งให้ผู้รับดูแลผู้ป่วยรับตัวผู้ป่วยไปดูแล
มาตรา ๔๑
เมื่อผู้ถูกคุมขังซึ่งได้รับการบําบัดรักษาในระหว่างถูกคุมขัง
หมวด ๔ การอุทธรณ์
มาตรา ๔๒
มีคําสั่งให้ขยายระยะเวลาการบําบัดรักษาตามมาตรา ๓๐ ให้ผู้ป่วยหรือคูู่สมรส
มาตรา ๔๓
ให้มีคณะกรรมการอุทธรณ์ ประกอบด้วย
อธิบดี เป็นประธานกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิจํานวนห้าคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในสาขา การแพทย์จิตเวช จิตวิทยาคลินิก สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ การพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช และ กฎหมาย สาขาละหนึ่งคน เป็นกรรมการ
มาตรา ๔๔
พิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา ๔๒
รายงานผลการดําเนินการใหคณะกรรมการทราบอย่างน้อยปีละครั้ง
หมวด ๕ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๖
ซักถามบุคคลใดๆ เพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ ความเจ็บป่วย พฤติกรรมและ ความสัมพันธ์ในครอบครัวและชุมชนของบุคคลตาม
มาตรา ๔๗
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตร ประจําตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๔๘
ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๖ ให้บุคคลที่ เกี่ยวข้องอํานวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา ๔๙
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๖ บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๐
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๕๑
ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๕๒
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๔๖ (๓) โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๕๔
ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการตามมาตรา ๕ (๑) (๒) (๓) และอธิบดี
ให้ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะมี กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕)