Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preauricular cyst, Link Title - Coggle Diagram
Preauricular cyst
.1.ให้การพยบาลเพื่อส่งสริมความสุสบายโดยให้ยาตามแผนการรักษา เช่น ยาแก้ปวด ลดไข้ ยาปฏิชีวนะ
และติดตามผลในกรณีที่ผู้ป่วยกลับไปดูแลตนเองที่บ้าน พยาบาลอธิบายวิธีใช้ยาแต่ละชนิด ตลอดจนอาการข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น ประมินอุณหมิและอาการปวดอย่างต่อเนื่อง ให้ผู้ป่วยนอนหงายหรือนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับหูที่ผ่าตัด
เคส : ผู้ป่วยได้รับ augmentin (3.75 mg) oral b.i.d pc (8,17) / paracetamol (8 ml) oral prn q 4-6 hr.
-
2.ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล โดยอธิบายเกี่ยวกับเรื่องโรค เช่น สาเหตุ แนวทางการรักษาความคาดหวังในการรักษา และการปฏิบัติตัวก่อนละหลังผ่าตัด การหายของแผล เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถามสิ่งที่สงสัย
3.ให้กาพยาบาลเพื่อปฏิบัติตัวได้ถูกต้องโดยให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติที่สำคัญ คือ ไม่ให้น้ำเข้าหูหรือแผลเปียก ไม่แคะหูหรือปั่นหูรับประทานยาหรือหยอดยาตามแผนการรักษา อธิบายสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากการรักษาหรือการผ่าตัด ช่น อาการหูอื้อจะดีขึ้นเมื่อการอักเสบลดลง หลังผ่าตัดต้องพักผ่อนประมาณ 1-2 สัปดาห์
- ให้การพยาบาลเพื่อลดการติดเชื้อโดยในวันก่อนผ่าตัด ประเมินการอักเสบต่างๆของร่างกาย วัดสัญญาณชีพจร ประเมินผลการตรวจนับเม็ดเลือต (complete blood coun) หรือผลอื่นๆตามความเหมาะสม ในระยะหลังผ่าตัดดูแลให้ได้รับยาปฏิชีนะครบถ้วนตรงตามเวลา แนะนำไม่ให้ผู้ป่วยใช้นิ้วสัมผัสแผลผ่าตัดระวังไม่ให้น้ำเปียกผ้าปิดแผล
- ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันเลือดออกในระยะหลังผ่าตัดโดยประเมินและดูแลความปลอดภัยจากการมีเลือดออกจากแผลผ่าตัด ปกติจะไม่เปิดผ้าพันแผลออกจนครับ 7 วัน แต่หากมีเลือดออกจะต้องเปิดผ้าปิดแผลออก เพื่อประเมินและให้การดูแล ตลอดจนปลี่ยนผ้าปิดแผลให้ใหม่ หากเลือดออกไม่หยุดให้รายงานแพทย์
6.ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุโดยแนะนำให้ผู้ป่วยประเมินอาการเวียนศีรษะโดยเฉพาะขณะลุกขึ้นหรือเปลี่ยนทำและบอกให้ผู้ป่วยทราบว่าหลังผ่าตัดอาจมีอาการเวียนศีษะหากมีอาการเวียนศีรษะให้แจ้งพยาบาลเพราะอาจตกเตียงหรือหกล้มได้ในระยะหลังผ่าตัดดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักระวังอุบัติเหตุขณะลุกจากเตียงติดตามสอบถามอาการวียนศีรษะเป็นระยะ
-
-
-
-
- มีโอกาสติดเชื้อหลังผ่าตัดเนื่องจากมีแผลผ่าตัด
-
-
อาการทางคลินิก*จะพบว่ามีรูอยู่บริเวณหน้าหูส่วนบน ข้างเดียวหรือทั้ง 2 ข้าง สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่แรกเกิด ในผู้ป่วยที่มีประวัติพบในครอบครัวร่วมด้วยจะมีโอกาสเป็นทั้ง 2 ข้างมากกว่าในรายที่ไม่มีประวัติในครอบครัว การที่พบลักษณะการถ่ายทอดสู่รุ่นถัดไปได้ทั้งเพศชายและหญิงเท่าๆ กัน อาจเป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal dominant2 บางรายจะมีของเหลวข้นมีกลิ่นไหลออกมาจากรู หรือเมื่อใช้มือบีบรีดก็จะออกมา ซึ่งเกิดจากการหลุดลอกตัวของผิวที่บุผนังภายใน sinus หลุดลอกออกมา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีประวัติการอักเสบมาก่อน ในผู้ป่วยบางรายมาด้วยฝีนี้เกิดจากการติดเชื้อภายในรูโดยจะเกิดบริเวณหน้าต่อรูเปิดของ preauricular sinus ในตำแหน่งบริเวณปลายท่อ และมักจะมีประวัติการรักษาการติดเชื้อ เช่น การกรีดหนอง และมักจะเป็น ๆ หาย ๆ มาตลอด ในบางกรณีของ preauricular sinus ส่วนน้อยจะพบว่ามีความสัมพันธ์กับความผิดปกติทางกรรมพันธ์หรือกลุ่มอาการบางอย่างได้
-
-
-
-
-
การผ่าตัด
การรักษาโดยการผ่าตัดจำเป็นในกรณีที่มีการติดเชื้อ หรือเป็นหนอง ส่วนในกรณีที่ไม่มีอาการนั้นไม่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด ยกเว้นจะทำเพื่อความสวยงามหรือรูนั้นมีน้ำไหลออกมาและสร้างความลำคาญอย่างมากต่อผู้ป่วย ขั้นตอนการผ่าตัดในผู้ป่วยเด็กจำเป็นต้องให้ยาสลบ การจัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายตะแคงหน้าให้รูเปิดอยู่ด้านบน เริ่มผ่าตัดโดยกรีดแผลเป็นรูปวงรีโดยรอบรูเปิดนั้น ขนานไปกับส่วนของใบหู เลาะตามรอยกรีดนั้นผ่านเข้าไปในชั้นไขมัน โดยเลาะชิดกับท่อลงไปเรื่อยๆ ท่อที่ติดต่อกับรูเปิดนั้นต้องเลาะออกให้หมดเพื่อป้องกันการเกิดเป็นซ้ำ ส่วนปลายของท่อจะติดอยู่กับกระดูกอ่อนของใบหูด้านหน้าจำเป็นต้องตัดกระดูกอ่อนบางส่วนที่ติดกับท่อออกไปด้วยเพื่อให้แน่ใจได้ว่าได้เลาะส่วนของท่อออกได้หมด หากไม่เลาะกระดูกอ่อนออกบางส่วนจะเกิดการติดเชื้อซ้ำได้3 ในการเลาะท่อนี้ออกมีข้อควรระวังคือส่วนของ facial nerve ซึ่งอยู่บริเวณใกล้เคียงกับท่อนี้และจากการที่มีการอักเสบมาก่อน ทำให้สังเกตได้ยาก
-
ความหมาย
Preauricular sinus เป็นลักษณะหนึ่งของความผิดปกติแต่กำเนิด ในขั้นตอนการพัฒนาหูและใบหน้า โดยจะพบอยู่ที่บริเวณขอบด้านหน้าใบหูของ helix ส่วนบนที่เรียกว่า helical root( รูปที่ 1 ) รูเปิดที่ผิวหนังมีลักษณะกลมเล็กขนาด 1-2 มิลลิเมตร มีความลึกประมาณ 2 เซนติเมตร ท่อจะยื่นต่อลงมาด้านล่างค่อนไปด้านหน้า นอกจากนี้ยังมีลักษณะความผิดปกติอื่นที่พบในบริเวณเดียวกันได้หลายรูปแบบ เช่น Preauricular skin tag เป็นติ่งเนื้อยื่นออกมา หรือ Preauricular pit ซึ่งมีรอยบุ๋มลงไปเท่านั้น หรือ preauricular cyst
พยาธิ
ลักษณะของ preauricular sinus จะเป็นท่อสั้นๆ ไม่ลึกมาก บางรายจะมีท่อเล็กๆแยกออกมา ด้านล่างจะติดอยู่กับกระดูกอ่อนหน้ารูหู ไม่มีทางติดต่อกับหูชั้นนอกหรือหูชั้นใน เซลล์เยื่อบุภายในท่อเป็น stratified squamous epithelium
สาเหตุ เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด/ความผิดพลาดระหว่างที่หูกำลังเจริญเติมโตตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์ช่วง 5-6 สัปดาห์ หลังปฏิสนธิ พบในเด็กที่คลอดออกมา บางครั้งอาจพบความผิดปกติอื่นรวม เช่น รอบบุ๋มหรือมีติ่งเนื้อเกิดขึ้นได้
-
-
-
-
-
-
-
-
-