Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดทางจิตเวช การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy:ECT),…
การบำบัดทางจิตเวช การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy:ECT)
ความหมาย
เป็นการทำให้ชักโดยกระแสไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสม ผ่านเข้าไปในสมองทางขั้วตัวนำไฟฟ้าซึ่งวางไว้บริเวณขมับ
ปริมาณกระแสไฟฟ้าโดยทั่วไป 70-150 volt
เวลาปล่อยนาน 0.5-2 วินาที
ชนิดการทำ ECT
unmodified ECT หรือ Nonmodified ECT
เป็นการรักษาโดยไม่ใช้ยาชนิดใด
Modified ECT *ใช้ในปัจจุบัน
ใช้ยาให้ผู้ป่วยหลับ แล้วปล่อยกระแสไฟฟ้า
ยาที่ใช้
Atropine Sulphate 1 amp (gr1/100) ป้องกันcardiac arrhythmia
Anesthesic drug ได้แก่ Thiopental เข้าเส้นให้ผู้ป่วยหลับ
Muscle Relaxant เช่น Succinylcholine
dichloride ยานี้ช่วยทำให้การชักไม่รุนแรง
5% in NSS iv drip ไว้เผื่อกรณีฉุกเฉิน
O2 ให้ 100%ตั้งแต่ก่อนทํา ECT
ป้องกันเลือดขาดออกซิเจน และอาการหลงลืมหลังทํา
ข้อบ่งชี้
Severe Depression (อาจทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น)
โรคจิตเภทแบบ Affective type หรือ Catatonic type หรือกลุ่มที่ไม่ตอบสนองต่อการใช้ยา
Severe mania, Manic depressive psychosis, manic type
Severe psychosis
โรคจิตอื่นๆ ที่ไม่สามารถตรวจหาพยาธิสภาพในสมองได้
โรคจิตเภทเรื้อรังที่มีอาการกำเริบขึ้นมาอีกทั้งๆ ที่ให้ยารักษาตลอด
โรคจิตที่เกิดจากความพิการทางสมอง (organic brain syndrome psychosis)
ผู้ป่วยบางรายที่เกิดอาการเป็นพิษจากยารักษาโรคจิต รวมถึง Tardive Dyskinesia
โรคทางจิตเวช เช่น Parkinson's disease
ข้อห้ามในการทำ
Myocardial disease, Coronary Thrombosis
Recent Coronary Thrombosis
Brain tumor และIntracranial mass
Severe Hypertension
Late state of pregnancy
Aneurism
โรคair way ของปอดถูกอุดตัน หรือปอดถูกตัดออกไปบางส่วน
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ เพราะจะทําให้กล้ามเนื้อฉีกได้
ผู้ป่วยที่ร่างกายไม่แข็งแรงเนื่องจาก Acute infection
Bone disease โดยเฉพาะ Thoracic Spine เช่น Vertebral osteoporosis หรือ Vertebral Fracture เพราะทําให้กระดูกร้าวหรือหักได้
อาการแทรกซ้อน
อาการระยะสั้น
หยุดหายใจนาน (Prolong apnea) พบได้ใน modified ECT
หัวใจเต้นไม่สมํ่าเสมอ พบในผู้ป่วยโรคหัวใจ /ผู้สูงอายุที่อายุ 50 ปี
สับสน มึนงง(confusion) หลังชัก ประมาณ 15 นาที
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน 1-2 ชั่วโมงแรกหลังทำ
กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ปวดฟัน ปวดไหล่ ปวดหลัง เจ็บกระดูกหลัง
กระดูกขากรรไกรเคลื่อน ลิ้น/ปากเป็นแผล พบใน Unmodified ECT
Amenorrhea ในผู้ป่วยหญิงบางรายหรืออาจมาช้ากว่าเดิม
อาการระยะยาว
ความหวาดกลัว ตื่นตระหนก วิตกกังวล (fear, panic, anxiety)
ความจําเสียและหลงลืม (amnesia) ทั้งระยะสั้นและระยะยาว จะเกิดหลังทํา ECT ได้ 3-4 ครั้ง และจะกลับมาภายใน 2 เดือน หรือ 6-9 เดือน
ผลดีของการรักษาด้วยไฟฟ้า
ทําให้อาการทางจิตที่รุนแรงดีขึ้น
ทําให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ เพราะการทำ ทําให้อยากรับประทานอาหารมากขึ้น
ทําให้ผู้ป่วยนอนหลับได้
ผู้ป่วยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้
ขั้นตอนการทำ ECT
:star:ก่อนทำ
Pretreatment evaluation
ประเมินว่าเหมาะสมที่จะทำหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
UA เพื่อประเมิน renal function
Electrolytes potassium ถ้า potassium ตํ่าอาจฟื้นจากยาสลบช้า
EKG , CXR หาความผิดปกติของหัวใจและปอด
full spine x-ray
CT หรือ MRI ในผู้ป่วยเป็นโรคลมชัก
เครื่องใช้ในการทํา ECT
เครื่องรักษาด้วยไฟฟ้ากระแสสลับ 110 โวลท์60ไซเคิล พร้อมแป้นอิเล็กโทรด
jelly สําหรับทาแป้น
รถ Emergency
หมอนทราย
ฉากกั้น
ผ้าขนหนูแช่เย็น เช็ดหน้าหลังทํา ECT
สายยางพันรอบศีรษะ
เตียง ผ้ายาง ผ้าขวางเตียง ผ้าขนหนู ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย
การเตรียมผู้ป่วยก่อนทํา ECT
ให้ญาติหรือผู้รับผิดชอบผู้ป่วยทราบและเซ็นใบยินยอม
ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระก่อนทํา
ถอดฟันปลอม
สวมเสื้อผ้าที่รู้สึกสบาย ถอดของมีค่าออก
ผมควรจะสะอาดและแห้ง
เตรียมผู้ป่วยทางด้านจิตใจ โดยกระตุ้นให้พูดถึงความรู้สึกก่อนทำและสร้างความมั่นใจ เช่น พาไปดูห้องทําECT หรือพูดคุยให้กําลังใจ
งดน้ำและอาหารก่อนทํา 6 ชั่วโมง
งดยาที่ทําให้ความดันโลหิตตํ่า และยาแก้
Record V/S ก่อนทํา
:star:ขณะทำ
ขั้นตอนในการทํา ECT
นอนบนเตียงเรียบแข็ง ไม่หนุนหมอน
เตรียมเครื่อง ECT ติดอิเลคโทรดที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ทา electrode jelly ด้านที่ติดผิวหนัง
ต่อเครื่องวัด EKG ,BP , เครื่องวัด oxygen saturation
ให้ผู้ป่วยสูดออกซิเจน 100% 2-3 นาที
ฉีด pentothal sodium 5 มก./กก. เข้าเส้นเพื่อให้หลับ ปัจจุบันใช้methohexital (Brevital) และทดสอบการหลับด้วย eyelash reflex
ฉีด succinylcholine 0.5-1.5 มก./กก. เข้าเส้น ทดสอบด้วย Babinski's sign
ใช้ anasthetic mask ที่ต่อกับ ambu bag
จับคางขณะให้กระแสไฟฟ้า
ผู้ป่วยจะชักแบบ grandmal seizure นานไม่น้อยกว่า 25 วินาที
ต่อ scalp vein เพื่อเตรียม ให้ยา
การพยาบาลผู้ป่วยขณะทํา ECT
ให้ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียงเรียบแข็งพอควร ไม่หนุนหมอน ใช้หมอนทรายรองกระดูก
จับผู้ป่วย 4-5 คน
คนที่ 1 หัวหน้าทีมจับศีรษะ
แขน คนที่ 4 และคนที่ 5 จับต้นขาและเข่า
คนที่ 2 และคนที่ 3 จับไหล่และแขน
คนที่ 1 ทา jelly ติด electode ที่ขมับ 2 ข้าง ใส่ไม้กดลิ้น จับคางเงยขึ้น
เมื่อกดปุ่มปล่อยกระแสไฟฟ้า pt จะชักทั้งตัว (grand mal seizure) ไม่น้อยกว่า 25 วินาที
ระยะหมดสติ (Unconscious phase) 1-2 วินาที
ระยะเกร็ง (Tonic phase) 5-15 วินาที
ระยะกระตุก (Clonicphase) 10-35 วินาที
ระยะโคม่า (Coma) ผู้ป่วยเริ่มหายใจแต่ไม่รุ้สึกตัว
ระยะหลับ (Sleep) 5 นาที อาจนานถึง 30 นาที
ระยะสับสน(Confused phase) 15-30 นาที
มีเสมหะรีบดูดออก
เมื่อผู้ป่วยหยุดชัก จับหน้าผู้ป่วยตะแคงไปด้านหนึ่ง เอาหมอนที่รองใต้เอวผู้ป่วยออก
เมื่อหายใจได้เอง ตรวจดูช่องปาก วัด vital signs ทันที และวัดทุกครึ่งชั่วโมง นาน3 ชั่วโมง
:star:หลังทำ
จัดผู้ป่วยนอนหงายราบ เอียงศีรษะ ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว นอนพักประมาณ 30-60 นาที
วัด vital signs
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ระวังการหยุดหายใจ
เช็ดหน้าผู้ป่วยด้วยผ้าขนหนูเปียก
ทดสอบความรู้สึกตัวของผู้ป่วย โดยเรียกชื่อ
ส่งผู้ป่วยกลับหอผู้ป่วย
ลงบันทึกเกี่ยวกับอาการก่อนทํา ขณะทํา หลังทํา ระยะเวลาการชัก
Reorientation เกี่ยวกับ วัน เวลา สถานที่ และอื่นๆ
นศพต.อังศุมาลี บุรีภักดี เลขที่65