Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle Diagram
บทที่ 5 พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา๑ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา๓
สุขภาพ
ปัญญา
ระบบสุขภาพ
บุคลากรด้านสาธารณสุข
มาตรา๔ ให้นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติ
หมวด๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศ
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคล
มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุขบุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพ
มาตรา ๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
มาตรา๑๐เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้น ต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
มาตรา ๑๑ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หมวด ๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๔กรรมการตามมาตรา ๑๓ มีสัญชาติไทย มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา๑๕ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓
มาตรา ๑๖ การเลือกกรรมการให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ
มาตรา ๑๗ การเลือกกรรมการเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา ๑๘ การเลือกกรรมการจัดกลุ่มขององค์กรภาคเอกชนตามลักษณะของกิจกรรม
มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ง
มาตรา ๒๐ ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๒๑ มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา ๒๒ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
มาตรา๒๓ พ้นจากตําแหน่งเมื่อตาย ลาออก ถูกจําคุก
มาตรา ๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีการการประชุมคสช.
มาตรา ๒๕ ให้คสช. มีหน้าที่และอํานาจ
หมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖ ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๒๗ ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๒๘ รายได้ของสํานักงาน
มาตรา๒๙ ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนําส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
มาตรา๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบ
มาตรา๓๑ ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ
มาตรา๓๒ ให้เลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา๓๓ การพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
มาตรา๓๔ เลขาธิการมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสํานักงานในกิจการของสํานักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก
มาตรา๓๗ให้คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา๓๘ การดํารงตําแหน่งการพ้นจากตําแหน่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช. กําหนด
มาตรา๓๙ คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่และอํานาจ
หมวด๔ สมัชชาสุขภาพ
มาตรา๔๐ การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา๔๑ ให้คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา๔๒ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๓ ให้คณะกรรมการกําหนดวันเวลาและสถานที่ในการประชุม
มาตรา๔๔ ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมให้สมัครลงทะเบียน
มาตรา๔๕ ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนําไปปฏิบัติ ให้เสนอต่อคสช.
หมวด๕ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๖ ให้คสช. จัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๗ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา๔๘ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐ
หมวด๖ บทกําหนดโทษ
มาตรา๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา๙ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕
หมวด ๑ สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
มาตรา๖ บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา๕ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อสํานักงาน
มาตรา๗ บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้วให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วยบริการประจําของตน
มาตรา๘ ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา๕ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตามมาตรา๖อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้
มาตรา๙ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคลดังต่อไปนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา๑๑ ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาล ให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสํานักงาน
มาตรา๑๒ ในกรณีที่ผู้ประสบภัยจากรถ ให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสํานักงาน
หมวด ๒ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา๑๔ ดํารงตําแหน่งกรรมการตามมาตรา๔๘ ในขณะเดียวกันมิได้
มาตรา๑๕ มีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา๑๖ การพ้นตําแหน่งตามวาระ
มาตรา๑๗ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๑๙ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลสํานักงาน
มาตรา๒๐ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา๒๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
มาตรา๒๒ ให้คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการแล้วแต่กรณีมีอํานาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง
มาตรา๒๓ ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุม
หมวด๓ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๒๔ ให้มีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๒๕ ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานครหรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา๒๖ ให้สํานักงานมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๒๗ ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา๒๘ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สํานักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้
มาตรา๒๙ ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีต่อคณะรัฐมนตรี
มาตรา๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงาน
มาตรา๓๑ ให้สํานักงานมีเลขาธิการ
มาตรา๓๒เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติ มีสัญชาติไทย สามารถทํางานให้แก่สํานักงานได้เต็มเวลา
มาตรา๓๓ เลขาธิการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ
มาตรา๓๔ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา๓๕ ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งต้องห้ามมิให้ดําเนินกิจการที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล
มาตรา๓๖ เลขาธิการมีอํานาจหน้าที่ บรรจุแต่งตั้งเลื่อนลดตัดเงินเดือนลูกจ้างของสํานักงาน
มาตรา๓๗ ให้มีสํานักตรวจสอบขึ้นในสํานักงานทําหน้าที่
หมวด๔ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุน
มาตรา๓๙ กองทุนประกอบด้วย เงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจําปี เงินที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัต
มาตรา๔๐ การรับเงินการจ่ายเงินและการเก็บรักษาเงินกองทุนรวมทั้งการนําเงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินจํานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
มาตรา๔๒ ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ มื่อสํานักงานได้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการไปแล้วสํานักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทําผิดได้
มาตรา๔๓ ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปี ให้คณะกรรมการเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินของกองทุนในปีที่ล่วงมา
หมวด๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๔ ให้สํานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
มาตรา๔๕ ให้หน่วยบริการมีหน้าที่ ให้บริการสาธารณสุข ให้ข้อมูลการบริการสาธารณสุข รักษาความลับของผู้รับบริการ
มาตรา๔๖ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่
หมวด๖ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา๔๙ การดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง ให้นํามาตรา๑๔มาตรา๑๕มาตรา๑๖และมาตรา๑๗มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา๕๐ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๕๑ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา๕๒ ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา๕๓ ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุม
หมวด๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการ
มาตรา๕๕ ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา๕๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด๘ การกํากับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา๕๗ ในกรณีที่สํานักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กําหนดให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ
มาตรา๕๘ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา๕๗ ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานดําเนินการ
มาตรา๕๙ ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิ ให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อสํานักงานเพื่อให้มีการสอบสวน
มาตรา๖๐ ในกรณีที่การกระทําผิดของหน่วยบริการ ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อพิจารณาดําเนินการ
มาตรา๖๑ ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคําสั่ง ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งหรือวันที่ได้รับทราบคําสั่ง
มาตรา๖๒เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่ง ให้เลขาธิการรายงานผลการดําเนินการหรือคําวินิจฉัยต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ
หมวด๙ บทกําหนดโทษ
มาตรา๖๓ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคําสั่ง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๔ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวก ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ. ๒๕๔๑
หมวด๑ คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการสถานพยาบาล”
มาตรา๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา๙ การพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
มาตรา๑๐ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา๑๑ คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําปรึกษา ให้ความเห็น
มาตรา๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา๑๓ คณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ถ้อยคํา
หมวด๒ การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดําเนินการสถานพยาบาล
มาตรา๑๔ สถานพยาบาลมี๒ประเภทดังต่อไปนี้ ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน และรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
มาตรา๑๕ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา๑๖ ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาลเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๑๗ ผู้ขอรับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลต้องมีคุณสมบัติ มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ไม่เคยได้รับโทษจําคุก
มาตรา๑๘ ในการพิจารณาออกใบอนุญาต ต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาตได้จัดให้มีแผนงานการจัดตั้งสถานพยาบาลที่ได้รับอนุมัติแล้ว มีสถานพยาบาลตามลักษณะที่กําหนด
มาตรา๑๙ ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา๒๐ ผู้รับอนุญาตต้องชําระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์วิธีการ
มาตรา๒๑ การโอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้แก่บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา๑๗ให้กระทําได้เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๒๒ ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจํานงต่อผู้อนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย
มาตรา๒๓ ผู้รับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้ดําเนินการคนหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่ควบคุมดูแล
มาตรา๒๔ ห้ามมิให้บุคคลใดดําเนินการสถานพยาบาลเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๒๕ ในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตจะต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาต
มาตรา๒๖ ถ้าผู้ดําเนินการพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวันผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา๒๕ดําเนินการแทนได้ไม่เกินเก้าสิบวัน
มาตรา๒๗ ผู้รับอนุญาตผู้ดําเนินการและผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลแห่งหนึ่งๆจะเป็นบุคคลคนเดียวกันก็ได้
มาตรา๒๘ ใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สองนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา๒๙ ในกรณีที่ผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาต ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตแล้วแต่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
มาตรา๓๐ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหาย แจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับทราบการสูญหาย
มาตรา๓๑ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายณสถานพยาบาลนั้น
มาตรา๓๒ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ ณสถานพยาบาลนั้น ชื่อสถานพยาบาล รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
มาตรา๓๓ รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล
มาตรา๓๕ ให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน
มาตรา๓๖ ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการของสถานพยาบาลต้องควบคุมและดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วย
มาตรา๓๗ ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาล
มาตรา๓๘ ผู้ใดประสงค์จะโฆษณา ต้องได้รับอนุมัติข้อความเสียงหรือภาพที่ใช้ในการโฆษณา
มาตรา๓๙ ในกรณีที่มีการโฆษณาหรือประกาศฝ่าฝืน ผู้อนุญาติให้ผู้โฆษณาหรือประกาศระงับ
มาตรา๔๐ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการของสถานพยาบาล ให้กระทําได้เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๔๑ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะย้ายสถานพยาบาล ให้ดําเนินการเสมือนเป็นผู้ขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม
มาตรา๔๒ เมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้รับอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในกําหนดสามสิบวัน
มาตรา๔๓ การเปลี่ยนชื่อสถานพยาบาลต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๔๔ ผู้รับอนุญาตผู้ใดประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทํารายงาน
มาตรา๔๕ ให้ผู้อนุญาตจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจลักษณะของสถานพยาบาล
หมวด๓ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๔๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ให้พนักงานเข้าไปในอาคารสถานที่ เข้าไปในสถานพยาบาลในระหว่างเวลาทําการ
มาตรา๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัว
มาตรา๔๘ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด๔ การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา๔๙ เมื่อปรากฏว่าผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้อง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจสั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ
มาตรา๕๐ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการกระทําการหรือละเว้นกระทําการอย่างใดๆจนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย ให้ผู้อนุญาตมีอํานาจออกคําสั่งปิดสถานพยาบาลเป็นการชั่วคราว
มาตรา๕๑ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการขาดคุณสมบัติ ให้ผู้อนุญาตโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา๕๓ คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ทําเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ผู้รับอนุญาต ถ้าไม่พบตัวหรือไม่ยอมรับคําสั่งดังกล่าวให้จัดการปิดคําสั่งไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย
มาตรา๕๔ ผู้ใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้วจะขอรับใบอนุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกําหนดสองปีนับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา๕๕ คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ที่ได้รับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคําสั่ง
หมวด๕ บทกําหนดโทษ
มาตรา๕๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่ง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๕๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๑๖วรรคหนึ่งหรือมาตรา๒๔วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๕๘ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาต ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๕๙ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา๒๑ มาตรา๓๑ มาตรา๓๒ มาตรา๔๐ หรือมาตรา๔๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๐ ผู้รับอนุญาตผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้จัดให้มีผู้ดําเนินการตามมาตรา๒๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๑ ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบแต่ไม่แจ้งภายในกําหนดเวลาตามมาตรา๒๖ มาตรา๓๐ มาตรา๔๒ หรือมาตรา๔๔ วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๒ ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๓วรรคสองต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๓ ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา๓๔ (๑) ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๔ ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา๓๔ (๓) หรือ (๔) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๕ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา๓๔(๒) หรือมาตรา๓๕ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๖ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๖ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๗ ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๗ต้องระวางโทษปรับ
มาตรา๖๘ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา๓๘วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๖๙ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา๔๔ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๗๐ บุคคลซึ่งอยู่ในสถานพยาบาลผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตามมาตรา๔๖ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
พระราชบัญญัติโรคติดต่อพ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด๑ บททั่วไป
มาตรา๖ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา๗ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา๘ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรค
มาตรา๙ ให้อธิบดีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศชื่ออาการสําคัญและสถานที่ที่มีโรคระบาดและแจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุม
มาตรา๑๐ ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง มีการพาดพิงถึงตัวบุคคลทั้งที่ระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได้จะต้องเก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผยชื่อ
หมวด๒ คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา๑๑ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ”
มาตรา๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา๑๓ การพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
มาตรา๑๔ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ กําหนดนโยบายวางระบบและแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง
มาตรา๑๕ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
มาตรา๑๖ ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่ง
มาตรา๑๗ ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา๑๘ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะอนุกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลใดๆ มาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็น
มาตรา๑๙ ให้กรมควบคุมโรคเป็นสํานักงานเลขานุการรับผิดชอบงานธุรการ
หมวด๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา๒๐ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา๒๑ การแต่งตั้งวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา๒๓ คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออก
มาตรา๒๔ ให้คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกมีอํานาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา๒๕ ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
หมวด๔ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา๒๖ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา๒๗ การแต่งตั้งวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา๒๘ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการตามนโยบายระบบและแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง
มาตรา๒๙ ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
มาตรา๓๐ ให้นําความในมาตรา๒๓และมาตรา๒๔มาใช้บังคับแก่องค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแต่งตั้งโดยอนุโลม
หมวด๕ การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา๓๑ ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๓๒ เมื่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้ง ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด และรายงานข้อมูลนั้นให้กรมควบคุมโรคทราบโดยเร็ว
มาตรา๓๓ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในต่างประเทศให้กรมควบคุมโรคประสานงานไปยังองค์การอนามัยโลกเพื่อขอข้อมูลเกี่ยวกับโรคดังกล่าว
หมวด๖ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๓๔ เมื่อเกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้นมีอํานาจที่จะดําเนินการเองหรือออกคําสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ใดดําเนินการ
มาตรา๓๕ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอํานาจในพื้นที่ความรับผิดชอบของตน สั่งปิดตลาด
มาตรา๓๖ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อขึ้นในทุกอําเภอหรือทุกเขตอย่างน้อยหนึ่งหน่วยเพื่อทําหน้าที่ในการเฝ้าระวัง
มาตรา๓๗ ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออก
มาตรา๓๘ เมื่อมีเหตุอันสมควรให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจตรวจตรา
มาตรา๓๙ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา๔๐ เมื่อรัฐมนตรีประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคตามมาตรา๘ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา๔๑ ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะนั้นเพื่อแยกกัก
มาตรา๔๒ ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัย ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจสั่งให้บุคคลดังกล่าวถูกแยกกัก
มาตรา๔๓ ให้อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายมีอํานาจออกหนังสือรับรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือการได้รับยาป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มาตรา๔๔ หากละเลยไม่ดําเนินการตามคําสั่งภายในเวลาที่กําหนดเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอํานาจดําเนินการแทนได้โดยให้ผู้นั้นชดใช้ค่าใช้จ่าย
หมวด๗ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มีอํานาจดังต่อไปนี
มีหนังสือเรียกบุคคลใดๆมาให้ถ้อยคํา
เข้าไปในพาหนะอาคารหรือสถานที่ใดๆในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทําการของอาคารหรือสถานที่นั้น
หมวด๘ ค่าทดแทน
ให้ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ผู้นั้นตามความจําเป็น
หมวด๙ บทกําหนดโทษ
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
หมวด ๑ คณะกรรมการยา
หมวด ๑/๑ กระบวนการพิจารณาอนุญาตยา
เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับมอบหมายให้ทำกิจการในหน้าที่และอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ มีอำนาจประกาศกำหนด
หมวด ๒ การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตผลิตหรือขายยาแผนปัจจุบันนอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง เภสัชกรชั้นสอง
หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ
ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตยาตลอดเวลาที่เปิดทำการ
หมวด ๕ การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งยาแผนโบราณ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด ๖ หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๘ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
หมวด ๗ หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
ห้ามมิให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติหน้าที่ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา
หมวด ๘ ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
ห้ามมิให้ผู้ใดขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเป็นชุดในคราวเดียวกัน โดยมีเจตนาให้ผู้ซื้อใช้รวมกันเพื่อบำบัด บรรเทา
หมวด ๙ การประกาศเกี่ยวกับยา
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุโรคหรืออาการของโรคที่ห้ามโฆษณายาว่าสามารถใช้บำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคหรืออาการของโรคนั้นได้
หมวด ๑๐ การขึ้นทะเบียนตำรับยา
ผู้รับอนุญาตผลิตยา หรือผู้รับอนุญาตให้นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรผู้ใด ประสงค์จะผลิต หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ต้องนำตำรับยานั้นมาขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และเมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาแล้วจึงจะผลิตยา หรือนำหรือสั่งยานั้นเข้ามาในราชอาณาจักรได้
หมวด ๑๑ การโฆษณา
การโฆษณาขายยาจะต้อง
ไม่เป็นการโอ้อวดสรรพคุณยา
ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง
ไม่ทำให้เข้าใจว่าเป็นยาทำให้แท้งลูกหรือยาขับระดูอย่างแรง
ไม่แสดงสรรพคุณยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
หมวด ๑๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
การปฏิบัติหน้าที่
เข้าไปในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา
นำยาในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์
ประกาศผลการตรวจสอบหรือวิเคราะห์คุณภาพของยา
หมวด ๑๓ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่าผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎกระทรวงที่ออกตํามพระรําชบัญญัตินี้ ผู้อนุญาตโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้
หมวด ๑๔ บทกำหนดโทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทพ.ศ. ๒๕๕๙
หมวด๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา๘ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท”
มาตรา๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
หมวด๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา๑๔ ห้ามผู้ใดผลิตขายนําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท๑เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๑๕ ห้ามผู้ใดผลิตนําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท๒เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ขายเฉพาะสําหรับคนไข้
ขายเฉพาะวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท๒ ที่ผู้อนุญาตได้อนุญาตให้ผลิตหรือนําเข้า
หมวด๔ หน้าที่ของเภสัชกร
ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ควบคุมให้มีฉลากและเอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๓๑
ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา
ควบคุมการทําบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์
ต้องอยู่ประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทําการ
หมวด๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิตขายนําเข้าหรือส่งออก
วัตถุออกฤทธิ์ปลอม
วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
วัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้
วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ
หมวด๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ
ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท๓หรือประเภท ๔ จะผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าวต้องขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับนั้นต่อผู้อนุญาตก่อน
หมวด๗ การโฆษณา
ห้ามผู้ใดโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา๗๑ ในกรณีที่ผู้อนุญาตเห็นว่าการโฆษณาใดฝ่าฝืนมาตรา๗๐วรรคสองหรือมีการใช้ข้อความโฆษณาซึ่งไม่เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาตให้ผู้อนุญาตมีอํานาจออกคําสั่ง
หมวด๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในสถานที่ทําการของผู้รับอนุญาตนําเข้าหรือส่งออก
เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่
ค้นบุคคลหรือยานพาหนะ
ยึดหรืออายัดวัตถุออกฤทธิ์ที่มีไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคํา
หมวด๙ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืน ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งพักใช้ใบอนุญาต
มาตรา๘๓ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน
หมวด๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
มาตรา๘๕ให้ถือว่าวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
หมวด๑๑ การค้าระหว่างประเทศ
มาตรา๑๐๐ การนําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ของผู้รับอนุญาตตามมาตรา๑๔ มาตรา๑๕ และมาตรา๒๐ นอกจากจะต้องได้รับใบอนุญาตตามมาตรา
หมวด๑๒ บทกําหนดโทษ
ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงสองล้านบาท
พระราชบัญญัติเครื่องสําอางพ.ศ. ๒๕๕๘
หมวด๑ คณะกรรมการเครื่องสําอาง
มาตรา๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี
ให้คําแนะนําหรือความเห็นแก่รัฐมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายและมาตรการควบคุมเครื่องสําอาง
ให้คําแนะนําแก่รัฐมนตรีในการออกประกาศตามมาตรา๖
หมวด๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา๑๔ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขายนําเข้าเพื่อขายหรือรับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสําอางต่อผู้รับจดแจ้ง
หมวด๓ ฉลากเครื่องสําอาง
มาตรา๒๒ผู้ผลิตเพื่อขายผู้นําเข้าเพื่อขายและผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจัดให้มีฉลาก
หมวด๔ การควบคุมเครื่องสําอาง
มาตรา๒๕ เมื่อมีประกาศตามมาตรา๖ (๙) การนําเข้าเพื่อขายเครื่องสําอางต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ณด่านตรวจสอบเครื่องสําอาง
มาตรา๒๖ ผู้จดแจ้งต้องผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
หมวด๕ การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา๓๖ ผู้รับจดแจ้งมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา๓๘คําสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอางให้ทําเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้จดแจ้งทราบ
หมวด๖ การโฆษณา
มาตรา๔๑ การโฆษณาเครื่องสําอางต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
หมวด๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในสถานที่ผลิตสถานที่นําเข้าสถานที่เก็บ
นําเครื่องสําอางหรือวัตถุที่สงสัยว่าเป็นเครื่องสําอาง
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้อาจเข้าไปในสถานที่หรือยานพาหนะใดๆ
มีหนังสือเรียกให้บุคคลใดๆมาให้ถ้อยคํา
หมวด๘ การอุทธรณ์
มาตรา๕๖ในกรณีผู้รับจดแจ้งไม่ออกใบรับจดแจ้งหรือไม่ต่ออายุใบรับจดแจ้งผู้ขอจดแจ้งหรือผู้จดแจ้งซึ่งขอต่ออายุใบรับจดแจ้งมีสิทธิอุทธรณ์คําสั่งดังกล่าวเป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวัน
หมวด๙ บทกําหนดโทษ
ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคพ.ศ. ๒๕๒๒
หมวด๑ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค”
พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องมาจากการกระทําของผู้ประกอบธุรกิจ
ดําเนินการเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคตามมาตรา๓๖มาตรา๓๗หรือมาตรา๓๘
หมวด๒ การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา๒๑ ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการใดได้บัญญัติเรื่องใดไว้โดยเฉพาะแล้วให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ส่วนที่๑ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา
ส่วนที่๒ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
ส่วนที่๓ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
หมวด๓ การอุทธรณ์
มาตรา๔๓ ในกรณีที่ผู้ได้รับคําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา๒๗หรือมาตรา๒๘วรรคสองไม่พอใจคําสั่งดังกล่าวให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้
หมวด๔ บทกําหนดโทษ
มาตรา๔๕ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกไม่ให้ถ้อยคําหรือไม่ส่งเอกสารหรือหลักฐานแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติการตามมาตรา๕ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด๑ คณะกรรมการ
ส่วนที่๑ คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ส่วนที่๒ คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
หมวด๒ สิทธิผู้ป่วย
ได้รับการบําบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบําบัดรักษาไว้เป็นความลับเว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผยได้
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมและระบบอื่นๆของรัฐอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
หมวด๓ การบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่๑ ผู้ป่วย
มาตรา๒๑การบําบัดรักษาจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผลความจําเป็นในการบําบัดรักษา
ส่วนที่๒ ผู้ป่วยคดี
มาตรา๓๕ภายใต้บังคับมาตรา๑๔วรรคหนึ่งแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาให้พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหา
ส่วนที่๓ การฟื้นฟูสมรรถภาพ
แจ้งให้ผู้รับดูแลผู้ป่วยรับตัวผู้ป่วยไปดูแล
ในกรณีที่ไม่มีผู้รับดูแลให้แจ้งหน่วยงานด้านสงเคราะห์และสวัสดิการทั้งภาครัฐและเอกชนตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ติดตามดูแลประสานงานและช่วยเหลือในการดําเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยตาม
หมวด๔ การอุทธรณ์
มาตรา๔๒ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา๒๙ (๑) หรือ (๒) หรือมีคําสั่งให้ขยายระยะเวลาการบําบัดรักษาตามมาตรา๓๐
หมวด๕ พนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด
ซักถามบุคคลใดๆเพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพความเจ็บป่วย
มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆมาเพื่อให้ถ้อยคํา
หมวด๖ บทกําหนดโทษ
มาตรา๕๐ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๑๖ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ