Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 4 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
:checkered_flag:
ㆍ[สำคัญ]
ต่อการพัฒนาองค์การและการจัดการ เพราะจะทำให้มีการปฏิบัติที่ทำให้จุดมุ่งหมายขององค์การบรรลุเป้าหมาย
ความหมาย
ㆍ ชาญชัย อาจินสมาจาร (2550)
ภาวะผู้นำหมายถึง ความสามารถในการขับเคลื่อนหรือสร้างอิทธิพลต่อผู้อื่นเพื่อทำให้เป้หมายของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มบรรลุผลสำเร็จ
💋
ㆍ เนตร์พัณณา ยาวิราช (2552)
ภาวะผู้นำหมายถึง บุคคลที่มีความสามารถในการบังกับบัญชาผู้อื่นโดยได้รับการขอมรับและยกย่องจากบุคคลอื่น เป็นผู้ทำให้บุคคลอื่นไว้วางใจและให้ความร่วมมือ
ㆍ ลูซเซียร์และแอชชัว (Lussier and Achua, 2007)
ภาวะผู้นำหมายถึง กระบวนการแห่งอิทธิพลที่
จะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทัศนคติและข้อตกลงของเหล่าสมาชิกในองค์การแห่งอิทธิพลและสร้างข้อผูกพันกับองค์ประกอบขององค์การ
💋
**ㆍนิตยา ศรีญาณลักษณ์ (2554)
ภาวะผู้นำคือ บุคคลที่รับผิดชอบที่จะดำเนินการตามกระบวนการต่าง ๆ เพื่อชักจูงให้บุคคลอื่นมีความคิดเห็นคล้อยตามและยอมปฏิบัติตามเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงาน
ㆍโมโลนี (Moloney, 1997)
ภาวะผู้นำจะต้องเป็นบุคคลที่มีแนวคิดใหม่ ๆ แล้วถ่ายทอดแนวคิดต่าง ๆเหล่นั้นไปสู่การปฏิบัติได้ ภาวะผู้นำเป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวผู้นำโดยตรง เป็นการพิจารณาถึงประสิทธิผลที่ผู้นำสามารถทำหน้าที่ในการนำหน่วยงานปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์
สรุปภาวะผู้นำ
ㆍกระบวนการของผู้มีอิทธิพล ในการชักนำการโน้มน้าว การจูงใจ การสร้างความเชื่อมั่นการสร้างแรงบันดาลใจให้บุคคลปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจให้ความร่วมมือในกิกรรมจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ㆍเป็นความสามารถของบุคคลในการใช้อิทธิพลสามารถจูงใจให้บุคคลหรือกลุ่มปฏิบัติตามดวามคิดเห็นเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จและบรรลุเป้าหมายของกลุ่มหรือองค์การตามที่กำหนดไว้
ㆍ ภาวะผู้นำมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา + ซับซ้อน >>>> โดยนำมาสู่ความสำเร็จขององค์การ (organizational performance)
ㆍ ภาวะผู้นำช่วยเสริมให้การบริหารจัดการ >>>> ประสบความสำเร็จและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
กระบวนการภาวะผู้นำ :checkered_flag:
ผู้นำ(leader) ชี้นำการปฏิบัติงานและกิจกรรมต่าง ๆ
ผู้ตาม (follower) ผู้ปฏิบัติงานและกิจกรรมภายใต้การชี้นำ
บริบท (context)สถานการณ์เช่น เป็นทางการ, ไม่เป็นทางการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่/งานประจำ, ซับซ้อน/ธรรมดา
ผลที่เกิดขึ้น (by products)อะไรก็ได้ เช่น ผลที่เกิดจากความสามารถในการตัดสินใจของผู้นำ,ความพึงพอใจ,การบรรลุเป้าหมาย
ด้านลบ
เช่นการเป็นปฏิปักษ์ แสดง ความจงเกลียดจงชังที่มาจากการถูกลงโทษ
-เป็นพลวัตอยู่ตลอดเวลา
-
ผลลัพธ์
ที่เกิดจกการแลกเปลี่ยนมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
-ผู้นำจะเป็นผู้ชี้นำในสถานการณ์ต่าง ๆที่เกิดขึ้น เพื่อให้หน่วยงานบรรลุเป้าหมาย
-กระบวนการภาวะผู้นำ เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนที่มีการโต้ตอบสองทาง
ความสำคัญของภาวะผู้นำ :checkered_flag:
ㆍ ภาวะผู้นำเป็นทางการ
เป็นภาวะของผู้นำที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่เป็นทางการในองค์การเช่น ผอ. โรงเรียนหรือผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
ㆍภาวะผู้นำไม่เป็นทางการ
เป็นภาวะผู้นำที่มีอิทธิพลต่อผู้อื่นเนื่องจากมีทักษะเฉพาะ/ ผู้นำที่ไม่ใช่ผู้บังคับบัญชา
-มีคุณสมบัติบางประการ
-หน่วยงาน/สมาชิกในองค์การ ให้การต้อนรับ
. ได้รับความไว้วางใจ เช่น ประสบการณ์
มนุษย์สัมพันธ์ความรู้ความสามารถ (ตัวอย่าง เช่น การรักษาการนายกๆสมาคม, >>>นายกสมาคม)
ภาวะผู้นำ
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การสร้างแรงบันดาลใจการสร้างแรงจูงใจและการใช้อำนาจอิทธิพล
การสร้างความเชื่อมั่น
3.1. เน้นที่คน สร้างแรงบันดาลใจและจูงใจผู้ตาม
3.2.ขึ้นกับอำนาจจากบุคคล
3.3. วางตัวเหมือนพี่เลี้ยง ผู้อำนวยความสะดวก ผู้ให้บริการ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
4.1. ความรู้สึกใกล้ชิดสนิทสนม
4.2. เปิดใจกว้าง
4.3. เนั้นการฟัง
4.4. ไม่ยึดกรอบทำงานรายตัว
4.5. มองตนเองได้อย่างแจ่มชัด
การเข้าร่วมของพนักงาน
2.1. สร้างวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมกัน
2.2. สร้างเสริมการเจริญเติบโต และความก้าวหน้าของพนักงานลดการแบ่งเขตลง
ผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน
5.1. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
การกำหนดทิศทาง
1.1. สร้างวิสัยทัศน์และกลยุทธ์
1.2. มองสูงกว้างไกล
วิวัฒนาการของภาวะผู้นำ (The evolution of leadership)
:checkered_flag:
ขุดที่ 2ยุคการบริหารงานเชิงเหตุผล (Rational management)
-ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม (behavioral theories)
(ค.ศ. 1960-1970)
-ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์ (contingency theories)
(ค.ศ. 1980-1990)
สิ่งที่เกิดขึ้น
กวามเป็นราชการ (bureaucratic)
ภาระหน้ำที่หลัก 5 ประการของการบริหารจัดการ
สายงานแบบแนวตั้ง (vertical)
ㆍ นักวิชาการค้นผู้นำในยุคนี้ จะใช้วิธีศึกษาผู้นำโดยแขกเป็นแต่ละเรื่อง แต่ละด้าน
ㆍ แนวคิดนี้เชื่อว่า ความสำเร็จของผู้นำ มาจากสิ่งที่เขาทำมากกว่าลักษณะที่เขาเป็น ซึ่งเป็นลักษณะเด่นเป็นสิ่งที่ติดตัวมา เปลี่ยนแปลงได้ยาก
ㆍมีการใช้แรงจูงใจในการควบคุมบุคลากร
ㆍได้มีมีผู้ศึกษาผู้นำในแค่ละเรื่อง แต่ละค้นที่ผู้นำจำเป็นต้องใช้ในการทำงานที่มุ่งนั้นค้นประสิทธิภาพเป็นหลัก
ㆍยุคนี้เริ่มมีกรนำเรื่องสางานบังคับบัญชาตามคำดับชั้นและแนวคิดแบบราชการมาใช้ในการบริหารงาน
ㆍ ทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์ มีแนวคิดว่า ผู้นำจะต้องสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีระบบ
จากสถานการณ์หนึ่ง>>> ไปยังสถานการณ์หนึ่ง >>>>> เพื่อความเหมาะสมทั้งสถานที่และเวลา
ㆍต่อมาเกิดมีผลการศึกษาวิจัยเพื่อต้องการหาคำตอบว่า พฤติกรรมของผู้บริหารแบบใดที่จะทำให้พนักงานสามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพขึ้น
ㆍทศวรรษที่ 1970 มีนักวิชาการเสนอทฤษฎีกาวะผู้นำตามสถานการณ์ขึ้นหลายทฤษฎี>>>>>
โดขมีความเชื่อว่าพฤติกรรมมิใช่เป็นองค์ประกอบเดียวที่มีผลต่อประสิทธิภาพของงานแต่ขึ้นกับปัจจัยที่สำคัญคือสถานการณ์
ㆍทฤษฎีกาวะผู้นำตามสถานการณ์ เชื่อว่า
"การเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำจำเป็นต้องปรับแบบภาวะผู้นำของตนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น"
ยุคที่ 3 ภาวะผู้นำแบบทีมงาน (Team leadership)
ㆍนั้นภาวะผู้นำแบบโครงการและการสร้างทีมงาน
ㆍเป็นช่วงเวลาที่เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวงการบริหารจัดการในประเทศแถบอเมริกาเหนือและยุโรป
จำต้องนำกลยุทธ์ต่าง ๆมาปรับใช้ เช่น
สิ่งที่เกิดขึ้น
-การลดขนาดองค์การ (downsizing)
-ทีมงานแบบไขว้สลับภาระหน้าที่ (cross-functional team)
องค์การแบบแนวนอน (horizontal)
การปรับลดขนาดของหน่วยงาน
นโยบายรัดเข็มขัด แต่ได้ผลงานสูง
-จัดโครงสร้างบังคับบัญชาแบบแนวนอน ซึ่งยึดหยุ่น กล่องตัว
-เน้นภาวะผู้นำแบบโครงการ สร้างทีมงานแบบไขว้สลับหน้าที่
-แต่หันมาใช้วิธีสร้างความเป็นผู้นำด้วยการมอบอำนาจ ความรับผิดชอบการตัดสินใจให้แก่บุคลากรแทน
ยุดที่ 1 ภาวะผู้นำแบบผู้ยิ่งใหญ่ (Great man leadership)
ทฤษฎีผู้นำโดยคุณลักษณะ (trait theories)
เป็นกลุ่มทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำ (ค.ศ. 1950-1960)
การศึกษาการศึกษาได้จุดประกายให้เกิดความกระตือรือร้น สนใจในการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์อย่างจริงจัง
ภายหลังสงคราม
นักวิจัยได้เริ่มศึกษา เพื่อระบุลักษณะที่สำคัญๆ ของบุคคล ซึ่งใช้แยกระหว่างบุคคลที่มีความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ (efiective leader) ออกจากบุคคลที่ไม่ใช่ผู้นำ
สิ่งที่เกิดขึ้น
องค์การก่อนเริ่มเป็นราชการ (pre-bureaucratic)
หลักการบริหาร (administrative principle)
ㆍ ทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำ >>>> เริ่มขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
ㆍนักจิตวิทยาในกองทัพบกสหรัฐอมริกได้ทำ การศึกษา หาวิธีคัดเลือกนายทหาร
ตัวอย่างผู้นำ
นโปเลี่ยน ผู้นำทางสังคม เช่น มหาตมะคานธี มาร์ดิน ลูธอร์ ถึง ผู้นำรัฐบาลเช่นประธานาธิบดีลินคอล์น
ยุคที่ 4 ภาวะผู้นำแบบอำนวยความสะดวก (Facilitative leadership)
กลุ่มทฤษฎีภาวะผู้นำบูรณาการ
ㆍช่วงกลาง
ค.ศ.1970-1979
มีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์การศึกษาทฤษฎีภาวะผู้นำ,
ㆍมีการศึกษาทฤษฎีภาวะผู้นำแบบบูรณาการ >>>>
โดยนำเอาทฤษฎีคุณลักษณะ, ทฤษฎีผู้นำ และทฤษฎีภาวะผู้นำตามสถานการณ์เข้าด้วยกัน ........เพื่อให้ได้รูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
วิสัยทัศน์ร่วม การร่วมของคน การมีสัมพันธภาพ
ไม่สกัดกั้นความสามารถของคนสิ่งที่เกิดขึ้น
องค์การแห่งการเรียนรู้ (learning organization)
การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง
วิธีการพัฒนาภาวะผู้นำ :checkered_flag:
ㆍแคฟต์ (Daft, 1999) :check:
"ผู้นำมิได้เป็นมาโดยกำเนิด ผู้นำสามารถสร้างขึ้นมาได้ โดยเกิดจากการใช้ความพยายามเละการทำงานหนักของบุคคลนั้น
ผู้ที่ต้องการพัฒนาภาวะผู้นำ >>>>> สามารถลือกวิธีการใด วิธีการหนึ่ง หรือหลายๆ วิธี(ศึกษาอบรม สัมมนา ประชุมทางวิชาการ ศึกษาดูงาน กรณีศึกษา เกมการบริหาร การพัฒนาจิต กิจกรรมนันทนาการ) นำมาประยุกต์ใช้ ให้เกิดภาวะผู้นำตามความเหมาะสม แล้วแต่โอกาส สถานการณ์ งบประมาณและเวลา
ㆍ การมีเป้าหมาย เพื่อหาวิธีการพัฒนาที่ถูกต้อง
. ㆍการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ผู้นำที่ประสบความสำเร็จ จะช่วยให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาภาวะผู้นำ
ㆍแสวงหาความรู้ ทักษะ และเทคนิควิธีการ นำไปสู่ความสามารถ ศักยภาพในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพต่อไป
แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำด้วยตนเอง
ㆍผู้นำที่ประสบความสำเร็จจะต้องอาศัยวิธีการหลายอย่างมาบูรณาการสร้างความเป็นผู้นำ
ㆍมนุษย์แต่ละคนต่างมีความเป็นผู้นำอยู่ในตนเอง (มาก น้อย แตกต่างกันไป)
ㆍ ผู้นำที่ดี คือ ผู้ที่สามารถเปลี่ยนสิ่งที่อาจเป็นไปได้ ให้เป็นสิ่งที่เป็นไปได้จริง
1.การสร้างการรับรู้ด้วยตนเอง (Lcadership development through self-awarenes) การหยังลีกข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง , วิเคราะห์หาสาเหตุ
2.การสร้างวินัยในตนเอง (Leadership development through self discipline) การปฏิบัติตนด้วยการควบคุมตนเอง ให้ปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ เพื่อ -.ให้บรรลุเป้หมายที่ตั้งไว้มีความกระตือรือร้น
(การสร้างวินัยในตนเองเป็นสิ่งจำเป็นเพราะ เป็นสิ่งที่กำหนดให้กิกรรมประจำวันอยู่ในกรอบที่เหมาะสม, เป็นการเปลี่ยนแปลงความตั้งใจที่ขาดระเบียบให้กลายเป็นพัฒนาตนเองได้ (รังสรรค์ ประเสริฐศรี, 2544)
แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำด้วยตนเอง
1.รู้หลักการ คือการรู้งาน รู้หน้าที่
รู้จุดหมาย คือจะต้องรู้จุดหมาขอย่างชัดจนเพื่อนำตนได้ มุ่งมั่น ไม่ หวั่นไหวต่ออุปสรรคที่เข้ามากระทบ
3.รู้ตน คือรู้ว่าตนเองเป็นใคร มีคุณสมบัติ ความพร้อม ความถนัด สติปัญญาความสามารถ กำลัง จุดอ่อน/จุดแข็ง
4.รู้ประมาณ คือรู้จักความพอดี รู้จักขอบเขตความพอเหมาะที่จะจัดทำในเรื่องต่าง ๆ ให้ได้สัดส่วนพอดี
5.รู้กาล คือ รู้จักเวลา ลำดับ ระยะ จังหวะ ปริมาณ ความเหมาะสมของเวลา ว่าเรื่องนี้จะลงมือทำตอนไหน ทำอย่างไร และจะทำอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ
6.รู้ชุมชน คือรู้จักสังคมโลก ประเทศชาติ ว่าอยู่ในสถานการณ์อย่างไร มีความต้องการอย่างไรมีปัญหาอะไร.........มือรู้ความต้องการก็จะสามารถตอบเสนอความต้องการ ได้ตรงจุด/ถูกต้อง
7.รู้บุคคลคือรู้จักบุคคลที่เกี่ยวข้องคนที่เราร่มงานคนที่เราไปให้บริการ .......เพื่อ..ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างถูกต้อง เหมาะสม และได้ผลตลอดจนให้ควาช่วยเหลือได้ตรงตามความต้องการของบุคคลผู้นั้น
อุปสรรคของการพัฒนาภาวะผู้นำ (Gill, 2007)
มีความภูมิใจในความมีศักดิ์ศรีของตนเองต่ำ >>> ความรู้สึกหดหู่ บาดแรงจูงใจในการทำงาน
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ความกลัวที่จะเกิดความล้มเหลว ความอายและการยอมรับในสังคม
การหดตัวลงของกระบวนการทางความคิด เป็นการเกิดในมุมแคบ ไม่ออกนอกกรอบ นำไปสู่อัมพาตทางความคิด
เกิดความเครียดทางด้นความคิดทางร่างกายและการปฏิบัติงาน
การพัฒนาภาวะผู้นำให้เกิดขึ้นในตนเอง 2
-ภาวะผู้นำเป็นศิลปะศาสตร์อย่างหนึ่ง เป็นศิลปะทางการปฏิบัติ และเป็นเครื่องมือประจำตัวของแต่ละบุคคล
-การพัฒนาภาวะผู้นำเป็นกระบวนการพัฒนาตนเอง>>>>จะนำมาซึ่งความมั่นใจในตนเองที่จะนำกลุ่ม
-ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังและเชื่อว่ามีอำนาจอยู่ในตัวเองเสมอ
ควรตั้งคำถามเหล่านี้ ถามตัวเองก่อนที่จะปฏิบัติภาวะผู้นำ
1.เรารู้เรื่องการดำเนินงานภายในองค์การได้อย่างไร และโลกภายนอกที่องค์การติดต่องานด้วยนั้นจะกระทำด้วยวิธีไหนบ้าง
เราเตรียมตัวพร้อมที่จะแก้ปัญหาอันยุ่งยากที่องค์การกำลังเผชิญอยู่ได้อย่างไร
เราคิดว่าองค์การจะเจริญไปข้างหน้าอีก 10 ปีได้อย่างไร
เรามีความเชื่อว่าทุกกนควรจะแสดงพฤติกรรมที่ชื่อสัตย์ต่อองค์การ ได้อย่างไร
เราแสดงวิสัยทัศน์และค่านิยมในตนเองให้กลุ่มเห็นว่ามีความเข้มแข็งมากเพียงใด
ตัวเราเองมีจุดเด่นและจุดอ่อนอะไรบ้าง
7.เราต้องการปรับปรุงความสามารถของตนเองในการที่จะพัฒนาองค์การให้เจริญก้าวหน้าต่อไปได้อย่างไร
สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่แสคงถึงความแข็งแกร่งของตนเองนั้นเราทำได้อย่างไร
9.ในขณะนี้ตัวเราถูกต้องแล้วหรือยังที่จะนำกลุ่มให้แก้ไขในสภาวการณ์เช่นนั้น
ผู้ที่ต้องการฝึกฝนและปลูกฝั่งให้เกิดภาวะผู้นำได้นั้น >>>>> ต้องเริ่มตนจากภายในคนเองก่อน
ว่า มีความเต็มใจมุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงคนเองหรือไม่
ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ควรเริ่มฝึกฝนตนเอง ดังนี้
ความเป็นเลิศ
-พยายามมุ่งทำงานสู่ความเป็นเลิศจะมีจิตใจที่เข้มแข็ง
-มีความกระตือรือรั้น ทุ่มเทกำลังกาย+ใจ กับงาน(ตรงกันข้ามกับบุคคลที่ทำงานนั้นไปวันหนึ่ง ๆ เท่านั้น)
ความรู้ความสามารถ
Knowledge, abiliy สร้างฐานอำนาจความเชี่ยวชาญให้กับบุคคลการสั่งสมความรู้ความสามารถ นี้กระทำได้โดย
มีทักษะในการใช้ความคิด, คิดล่วงหน้า, กว้างไกล >>>มองการณ์ไกลและคิดการล่วงหน้า
มีทักยะทางด้นเทคนิค มีความรู้ความชำนาญ มีการศึกยาหาความรู้ใหม่ ๆเพิ่มเติมตลอดเวลาโดย
การเข้าศึกยาต่อในระบบ
อบรมวิชาการ
ค้นด้วยตนเอง เช่น การอ่านวารสาร, ดูงานจากสถาบันอื่น
ทักษะด้นมนุษย์สัมพันธ์ >>>มีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้อื่น,อยากร่วมงานด้วยความเต็มใจ
มีหลักการและเชื่อมั่น
-ตัดสินใจอย่างมีหลักการ + เชื่อมั่น
-กล้าตัดสินใจในเชิงสร้างสรรค์
-ผู้ร่วมงานเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจ
-ได้รับความร่วมมือในการทำงาน
การติดต่อสื่อสาร
-การติดต่อสื่อสารกับบุกคลอื่น >>>> ต้องมีทักษะในการพูด,เขียน ที่อธิบายถึงเป้าหมายการพยาบาล
-ชักจูงให้ปฏิบัติตามเป้หมายที่ต้องการได้
สามารถอธิบายให้ผู้อื่นมองเห็นอุคมการณ์ของความเป็นวิชาชีพของตนได้
ความรับผิดชอบ
-รับผิดชอบที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
-มีน้ำใจที่จะสนับสนุนให้ผู้อื่นได้ก้าวหนและพัฒนาตนเอง
การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำ
1.การมีวิสัยทัศน์
-ภาพลักษณ์/ ภาพผู้นำทางการพยาบาลจะช่วยผู้อื่นได้มองเห็นทิศทางอนาคตขององค์การ
-ทำให้มีความพยายามและ ใช้พลังงานอย่างมากในการไปถึงเป้าหมายที่กำหนดไว้
2.การติดต่อสื่อสาร
-การใช้ทักษะการสื่อสารและทักษะสัมพันธภาพระหว่างบุคคล เป็นแรงผลักดันให้มีการสร้างวิสัยทัศน์
ความไว้วางใจ
-สัมพันธภาพระหว่างบุคคล, ทุกคนและทุกแผนก
-มาจากพื้นฐานของความเชื่อถือ ความเชื่อมั่นค่านิยม ความซื่อสัต การปฏิบัติตามวัตถุประสงค์และยึดมั่นผูกพันต่อองค์กร
4.ความรู้สึกมีคุณค่าทางบวก
-ให้โอกาสแก้ตัว, ความผิดพลาดไม่ใช่ความส้มเหลวความรู้สึกมีคุณค่าในทางบวก >>> จะทำให้ทำงานอย่างมีความสุข
การปฏิบัติของภาวะผู้นำ
ㆍ การปฏิบัติของภาวะผู้นำเกี่ยวกับ ปรัชญาในการดำเนินงาน, ควรมีการพัฒนาร่วมกับปรัชญาองค์การด้วย โดยมีหลักการ 4 อย่าง
1.เปลี่ยนแปลงยอมรับภาวะเสี่ยง มีความรับผิดชอบดี,เปลี่ยนแปลงยอมรับภาวะเสี่ยง
2.เคารพศักดิ์ศรีของทุกคน ส่งเสริมความสามักดี + ให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกันรักศักดิ์ศรีและพร้อมที่จะเสียสละเพื่อพันธกิจขององค์การ
3.ต้องทำงานที่มีคุณภาพดีตลอดเวลา
-ทำงานดีมีคุณภาพตลอดเวลา, โดยร่วมมือกันทุกคน สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง
-ให้ความยุติธรรมแก่ทุกคนในเรื่องความเป็นตัวของตัวเอง ความชื่อสัตย์และให้ความนับถือซึ่งกันและกัน
4.การติดต่อสื่อสารดีทุกระดับ
-ส่งเสริมให้มีการสื่อสารดีทุกระดับ
-สร้างบรรยากาศที่มีอิสรเสรีเพื่อให้ทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็น + พูดออกมาด้วยความจริงใจโดยไม่หวั่นเกรงว่าจะถูกตอบสนองด้วยการแก้แค้นในภายหลัง
ทฤษฎีภาวะผู้นำ :checkered_flag:
ทฤษฎีภาวะผู้นำมีพัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบันสามารถแบ่งได้ 6 ประเภท
4.แนวคิดเชิงสัมพันธภาพ(Relational approach)
-เริ่มปี 1990 เป็นต้นมา
-มีผู้เริ่มทำการวิจัยธรรมชาติของสัมพันธภาพระหว่างผู้นำ (leader) กับผู้ตาม (followers)
-ทษ. ที่สนับสนุนคือ Lcader-Member Exchange (LMX) theoryซึ่งได้รับความสนใจจนถึงทุกวันนี้
5.แนวคิดผู้นำแนวใหม่ (New leadership approach)
เกิดขึ้นประมาณ ค.ศ. 1980
-Bass และคณะ visionary charismatic leadership theories
-ค.ศ. 1985 ได้พัฒนาต่อมาเป็น transformational leadership theoryซึ่งเป็นภาวะผู้นำในการเปลี่ยนแปลงทั้งคนและองค์กร
6.แนวคิดภาวะผู้นำที่เกิดขึ้นล่าสุด(Emerging leadership approach)
-เริ่มใน ศตวรรษที่ 21
-ทษ. ในยุคนี้ เช่น Authentic leadership, Spiritual leadershipมุ่งถึง "caring principle" >>>> โดยเปรียบว่าผู้นำเป็นเสมือนผู้รับใช้(servant) ที่ดำเนินการตามความต้องการของผู้ตาม ช่วยให้ผู้ตามมีอิสระหรือปกกรองตนเองได้ (autonomous)และ เป็นผู้มีความรู้
-ผู้นำมีเพศหญิงกลายเป็นผู้มีบทบาทนำกลุ่มแรงงาน (workforce) ในระดับโลก
2.แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavioral approach)
-เริ่มช่วงปลาย ค.ศ. 1930
-มีงนวิจัยกาวะผู้นำเกี่ยวกับพฤติกรรม โดยศึกษาว่าอะไรที่ผู้นำทำได้และทำอย่างไร
-ในปี ค.ศ. 1964, Bake & Moulton ได้ศึกษากับกลุ่มผู้จัดการ(manager) ถึงการใช้ task behavior กับ relational behaviorsในองค์การ
task behavio
พฤติกรรมมุ่งงาน ผู้นำ กำหนดรายละเอียดของงาน ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา,ว่าจะทำอะไร เมื่อไหร่ อย่างไร ที่ไหน สำเร็จเมื่อไหร่ :red_flag:
relational behaviors
ผู้นำพยายมรักษาความสัมพันธ์กับผู้ได้บังคับบัญชา ...ให้โอกาส, ความสะดวกเป็นกันเองและสนับสนุน :red_flag:
:
1.แนวคิดเชิงคุณลักษณะ(Trait approach)
มองว่า lcadership is a trait
-ระยะแรกเรียก ทษ. นี้ว่า Great man theorics เนื่องจาก ทษ.เน้น คุณภาพของคนและคุณลักษณะของแต่ละบุคคล
-ผู้ศึกษา ทษ. นี้คือ ผู้นำทางสัมคมศาสตร์ การเมือง ทหาร, มีการศึกขาวิจัยในช่วง ค.ศ. 1900-1940 และ ชลอไป
-กลับมาศึกษาใหม่ใน ค.ศ. 1980
3.แนวคิดเชิงสถานการณ์ (Situational approach)
Hersey & Blanchard & Reddin
แนวคิดพื้นฐานสถานการณ์ที่แตกต่างกันย่อมได้ผู้นำที่แตกต่างกันนิยมใช้เพื่อการอบรมพัฒนาผู้นำอย่างกว้างขวาง
Hersey & Blanchard & Reddin (1960) มีผู้ศึกษาเรื่อง ผู้นำกับการเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและความพึงพอใจของทีมงาน
มีการศึกษาถึง contingency theory (ทษ.องค์การตามสถานการณ์และกรณี)โดยมุ่งหารูปแบบของผู้นำ (leader' style) ในแต่ละสถานการณ์ที่เหมาะสมกับผู้นำแบบนั้น ๆ
ทฤษฎีภาวะผู้นำที่เหมาะสมในศตวรรษที่ 21 :checkered_flag:
วิภาดา คุณาวิกติกุล Wipada Kunaviktikul (2016) กล่าวว่า การเรียนรู้จากประสบการณ์ จากการฝีกอบรม จากการสอนงาน จากเพื่อนร่วมงาน จากการปฏิบัติด้วยตนเอง หรือจากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง จะสามารถนำไปสู่การเป็นผู้นำในศตวรรษที่ 21 ได้
การพัฒนาผู้นำใน ศตวรรษที่ 21ต้องอาศัย
ทษ.ใหม่ ๆ ของการพัฒนา สอดกล้องกับการเปลี่ยนแปลง,
การบริหารจัดการขุกใหม่นั้นการเสริมพลังมากกว่าการควบคุม, เข้าใจและเข้าถึงจิตวิญญาณในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
1.ทฤษฎีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformativeleadership theory or transformational leadership
Theory)
คุณลักษณะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มี 4 องค์ประกอบ
1.มีอิทธิพลต่อความคิดผู้อื่น
2.สร้างแรงบันดาลใจ,การกระตุ้นทางปัญญา
3.กระตุ้นให้เกิดปัญญา, คิดริเริ่มใหม่ ๆ
คำนึงความเป็นปัจเจกบุคคล, สื่อสาร 2 ทาง, มอบหมายตามความสามารถ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
-แรก ๆศึกษากับผู้นำทางการเมือง ผู้นำและผู้ตามได้แลกเปลี่ยนค่านิยมและเป้าหมาย
ผลที่เกิด
การได้นวัตกรรมใหม่ ๆ เกิดขึ้น เกิด
แรงจูงใจ ความสำเร็จที่ผูกพันธ์กับวิสัยทัศน์
ความสำคัญ
การเปลี่ยนแปลงคนนำไปสู่การเปลี่ยนเเปลงองค์กร
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับเป้าหมายขององค์กร
-เริ่มจากการพัฒนาวิสัยทัศน์ >>>>ขึ้นกับ
ความรู้
ความสามารถ และ
ประสบการณ์
ของผู้นำองค์กรโดยการสร้างความฝันให้ทีมงานทุกคนเพื่อเป็นพลังขับคลื่นสู่ความสำเร็จ,การสร้างเสริมพลังผู้อื่น empowerment
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับกลยุทธ์การจัดการเปลี่ยนแปลง
-ผู้นำต้องสร้างภาพอนาคตให้เห็นว่าขณะนี้มีความจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
-บุคลากรมีส่วนร่วม ในการวางแผน/นำแผนไปปฏิบัติ ให้บรรลุเป้าหมาย
-การสื่อสาร
-การเสริมพลังบุคลากรเพื่อการตัดสินใจสู่การเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบรับใช้ (Servant leadership theory)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ทษ.
-เน้นผู้บริหารกระทำเพื่อบริการผู้อื่น
-การยึดผู้อื่นเป็นศูนย์กลาง
-ผู้นำแบบนี้ต้องเป็นการสนับสนุนให้ผู้อื่นเจริญรุ่งเรืองและได้รับการพัฒนา
เป้าหมายและรูปแบบของภาวะผู้นำแบบรับใช้
-มุ่งไปที่ผู้ตาม(followers)โดยเฉพาะด้านพฤติกรรมและเจตกติ
คุณลักษณะภาวะผู้นำแบบรับใช้
1.Altruism คำนึงประโยชน์ผู้อื่น/ส่วนรวม
2.Empower followers เสริมพลังอำนาจผู้ตาม
3.Act with humility ทำด้วยความอ่อนน้อม
4.Exhibit love มีความรักที่ยิ่งใหญ่
5.Land with service นำด้วยการบริการ
6.Trusting
7.Are visionary to their followers มีการสร้างวิสัยทัศน์เพื่อผู้ตาม
ทฤษฎีภาวะผู้นำทางจิตวิญญาน (Spiritual leadership theory)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ทษ.
-ภาวะผู้นำทาจิตวิญญานเป็นความต้องการพื้นฐานของทั้งผู้นำและผู้ตามที่นำมาสู่การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง
-ความเชื่อ
-พลังเหนือธรรมชาติพระเจ้า
-บุคคลตัวอย่าง (ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล)เป็นผู้นำที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาชีวิตทางจิตวิญญานอยู่เสมอ
-การพัฒนาผู้นำด้านนี้ เริ่มจากสร้างvision, สร้างสังคมและวัฒนธรรมองค์กรภายใต้ความรัก เข้าใจ และร่วมรักษาประโยชน์
คุณลักษณะของผู้นำทางจิตวิญญาน
-charity เอื้อเฟื้อ
การพัฒนาผู้นำลักษณะนี้ จะต้องมี
-มีแรงจูงใจภายใน (intensic factor) ที่เกิดจากตนเองสูง
-competence ความสามารถ
-autonomy อิสรภาพ
-relatedness สัมพันธ์
-support from organize การสนับสนุนจากการจัดระเบียบ
-varacity สัจจะ พูดจริงทำจริง
สรุป
ㆍ ทษ. ความเหมาะสมในการนำมาใช้ในยุกของการเปลี่ยนแปลง
ㆍ ความท้าทายต่าง ๆ
ㆍ นโยบาย
ㆍระบบบริการสุภาพ