Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย - Coggle Diagram
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย
5.1 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยเด็กและวัยรุ่น
5.1.1 ประเทศไทย
ความเชื่อเกี่ยวกับเด็กหรือลูกของแต่ละศาสนาจะแตกต่างกันไป
ศาสนาอิสลามเชื่อว่าลูกเป็นของขวัญจากองค์อัลลอฮ์
เป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ส่วนความเชื่อในการดูแลเด็กของคนไทยในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จะคล้ายคลึงกับประชากรในประเทศลาว
จะมีการรักษาความเจ็บป่วยจากอำนาจเหนือธรรมชาติ
การสะเดาะห์เคราะห์
การผูกข้อมือเรียกขวัญ
การบูชาบวงสรวง
ความเชื่อเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็กจะได้รับอิทธิพลจากสังคมรอบข้าง
คำสั่งสอนของปู่ย่าตายาย
การบอกกล่าวของบิดามารดา
ความเชื่อในการดูแลเด็ก
2.น้ำนม
3.เม่า
1.จกคอละอ่อน
4.รก
5.1.2 ประเทศกัมพูชา
การเกิดของเด็กเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจในครอบครัว
การเกิดถือว่าเป็นอันตรายทั้งต่อแม่และเด็ก
สตรีที่ตายเพราะการคลอดบุตรจะเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของปีศาจ
ชาวกัมพูชาจะให้การเคารพแพทย์เพราะถือว่าเป็นบุคคลที่อยู่ในชั้นที่สูงกว่าในสังคม
ผู้ให้บริการด้านสุขภาพไม่ควรแตะศีรษะผู้ป่วยก่อนได้รับอนุญาตจากผู้ป่วยเองหรือจากบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
5.1.3 ประเทศจีน
ปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนนโยบายให้สามารถมีลูกคนที่สองได้
เพื่อมุ่งหวังแก้ไขปัญหาในเชิงโครงสร้างประชากรจีนในระยะยาว
ในอดีตประเทศจีนจะมีนโยบาย “ลูกคนเดียว (One child policy)”
เด็กที่เกิดในประเทศจีน เมื่อครบสามวันจะมีพิธีล้างวันที่สาม
น้ำที่ใช้อาบมีชื่อเรียกว่า “ฉางโซ่วทัง”
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในการดูแลเด็ก
2.พัฒนาทักษะการสื่อสารกับเด็กตามพัฒนาการของเด็กรวมทั้งผู้ดูแลเด็กด้วยภาษาง่ายๆ
3.หากสื่อสารไม่ได้หรือไม่มีประสิทธิภาพ อาจสื่อสารผ่านญาติที่เป็นคนไทย หรือการใช้ล่าม
1.ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัวในด้านต่างๆ
4.อาจทำรูปภาพสื่อสารแทนภาษาพูด
5.การปฏิบัติพยาบาลควรใช้กระบวนการพยาบาลควบคู่กับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
5.2 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
2.วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน
3.วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ
1.วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว
5.2.1 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัยผู้ใหญ่ที่นับถือศาสนาอิสลาม
การดูแลทำความสะอาดผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำความสะอาดได้
ทำความสะอาดเท่าที่สามารถจะกระทำได้
การละหมาดของเขาก็ใช้ได้
ผู้ป่วยที่มีนะญิส (สิ่งสกปรกที่ต้องชำระให้สะอาดตามหลักนิติบัญญัติอิสลาม)
ผู้ป่วยที่สามารถทำความสะอาดได้ อาจจะทำด้วยตนเอง
5.2.2 สตรีตั้งครรภ์และหลังคลอดชนเผ่าม้ง ภาคเหนือ ประเทศไทย
หญิงตั้งครรภ์ก็จะถูกแนะนำ ให้กินแกงผักพื้นบ้าน
หญิงหลังคลอดเผ่าม้งจะมีความเชื่อในการปฏิบัติที่ทำให้มีนํ้านมมาก
หญิงตั้งครรภ์จะถูกแนะนำ ให้ดื่มนํ้ามะพร้าว
หญิงหลังคลอดจะอาบนํ้าต้มตลอดช่วงที่อยู่ไฟ
5.2.3 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัยผู้ใหญ่ชาวจีน
ความเชื่อด้านสุขภาพของชาวจีน
การใช้การรักษาดั้งเดิม (Traditional treatments) ชาวจีนนิยมการรักษาด้วยการแพทย์แผนจีน
การใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดโรค
ถ้าร่างกายแข็งแรงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์
แนวทางการดูแลผู้ใช้บริการ
ศึกษาวัฒนธรรมของชาวจีนในด้านต่างๆ
พัฒนาทักษะการสื่อสารกับผู้ใช้บริการชาวจีนด้วยภาษาจีนง่ายๆ
เลือกใช้วิธีการพยาบาลบนพื้นฐานของการบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลไปกับวัฒนธรรม
1 การคงไว้ซึ่งแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมระบบพื้นบ้าน
2 การปรับเข้าหากันระหว่างแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรมของพื้นบ้าน
3.2.3 การปรับเปลี่ยนแบบแผนของวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาแบบแผนของการดูแลเชิงวัฒนธรรม
5.3การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
4) การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันอุบัติเหตุ
ผู้สูงอายุที่มีภาวะแขนขาอ่อนแรง
ควรจัดสถานที่ให้ปลอดภัยจากการพลัดตกหกล้ม
มีสิ่งอำนวยความสะดวก
5) ความสามารถในการเคี้ยวและกลืน
จัดอาหารรสชาติที่ผู้สูงอายุชอบ
รสจืด ไม่เผ็ด รสหวาน ให้รับประทานผลไม้ ไอศกรีม ขนม และ อาหารเสริม
ไม่ควรจัดอาหารที่เหนียวเกินไป แข็งเกินไป
3) สุขภาพและยาที่ใช้ ควรคำนึงถึงภาวะสุขภาพและโรคที่ผู้สูงอายุเป็นอยู่
หัวใจ
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
โรคหลอดเลือดสมอง
2) การสื่อสาร ควรใช้ภาษาที่ตรงกับภาษาที่ผู้สูงอายุสามารถสื่อสารได้
ผู้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสายตาและการมองเห็นที่ลดน้อยลง
สามารถสื่อสารได้ ความสามารถในการสื่อสารกับผู้สูงอายุจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความไว้วางใจได้ดี
ใช้ภาษากายในการสื่อสารกับผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านความจำเสื่อม อัลไซม์เมอร์
6) การดูแลด้านจิตสังคม
การเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อที่ผู้สูงอายุมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง
ผู้สูงอายุได้เรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง มีกิจกรรมในสังคมร่วมกัน
ให้ผู้สูงอายุจัดกลุ่มพูดพูดคุยกันตามหัวข้อที่มีความสนใจคล้ายคลึงกัน
ฟังเพลงและร้องเพลงร่วมกัน การลีลาศ เล่นเกมส์ เล่นไพ่ ฟังละคร
1) การเคารพนับถือความเป็นบุคคลของผู้สูงอายุ
การใช้สรรพนาม
การเคารพในสัญชาติ ภูมิหลัง
การเรียกชื่อ
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
7) การดูแลด้านจิตวิญญาณตามความเชื่อของผู้สูงอายุ
ฟังคำเทศนา
ฟังพระคัมภีร์
ฟังเพลงนมัสการ
การละหมาด
การไปวัดหรือร่วมนมัสการในบ้านหรือไปโบสถ์