Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line
ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่
ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำที่อยู่ทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดด าในส่วนปลายของแขนและขา
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
แบ่งออกตามความเข้มข้นได้ 3 ชนิด
สารละลายไฮโปโทนิก
(Hypotonic solution)
ภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นต่ำกว่าในเซลล์น้ำจะเข้าสู่เซลล์ ค่า Osmolarity น้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
มี Osmolarity น้อยกว่า 280 m0sm/l
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
ภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ น้ำจะออกจากเซลล์
เป็นสารน้ำที่มีค่า Osmolarity มากกว่า 310 m0sm/l
มีมากกว่า Osmolarity ของน้ำนอกเซลล์
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ในเซลล์จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(Extracellular fluid)
มี Osmolarity ระหว่าง 280-310 m0sm/l
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีอัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำทำอัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรในการคำนวณ
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที)
= จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ าที่จะให้ใน 1 ชม.
= ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รายละเอียดวิธีการฉีดยา
เข้าทางหลอดเลือดดำ
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
วิธีการปฏิบัติการให้สารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจากขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ สามารถเปิดใช้ได้ทันที
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheral insertion devices)
ทำด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
ขวดสารน้ำ
โดยขวดสารน้ำ / ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ/ยาที่ปราศจากเชื้ออย่างแท้จริง
อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
แผ่นโปร่งใสปิดตาแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
ก๊อซปลอดเชื้อ
ไม้รองแขน
พลาสเตอร์ สำลี ปลอดเชื้อ 70% Alcoho
ถุงมือสะอาด
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ
ได้ 2ประเภท
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration) เกิดอาการบวมบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดด าอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม ตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน ไปตามแนวของหลอดเลือด หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง
การพยาบาล
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ประคบด้วยความร้อนเปียก
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
การใช้กระบวนการพยาบาลใน
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ ติดต่อกันเป็นเวลานาน
ให้สารน้ าทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
tourniquet
ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสส าเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
วิธีท้าการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วย
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ าด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
2.พลาสเตอร์
3.ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
1.สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
วิธีปฏิบัติ
ปิด clamp
แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้ำออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออกทางผิวหนัง
สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
5) ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และ ปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
6) เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
ระดับความรู้สึกตัว
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการฉีดยา
เข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
แบ่งได้ 2 ประเภท
Total parenteral nutrition (TPN)
2.Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อม
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
น าสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
ไข้ (pyrogenic reactions)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ั้ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood)
ประกอบด้วย 3 ส่วน
เกร็ดเลือด (platelet)
น้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
การให้เลือด (Blood transfusion)
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
พยาบาลผู้รับผิดชอบจึงต้องมีความละเอียดรอบคอบ และระมัดระวังในการให้เลือด มีความรู้ในการให้เลือด วัตถุประสงค์ของการให้เลือด หมู่เลือดและส่วนประกอบ
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกต
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
เตรียมสารน้ำและยา
ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบ
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
บันทึกจำนวนสารน้ำที่นำเข้า–ออกจากร่างกาย
รายงานแพทย์
การหยุดให้เลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเลือดครบให้ปฏิบัติ
หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดด า (KVO) ด้วย NSS
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก (Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอก
ร่างกายด้วยวิธีการต่างๆ
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ
ซึ่งจะได้รับด้วยวิธีใดก็ตาม ได้แก่ ได้รับทางปาก
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)