Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด, images, nacl,…
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
ให้ทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ
รับประทานอาหารทางปาก
รับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอ
ให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะ ๆ
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถให้ทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
เมื่อให้จะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าออกเซลล์
ความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
มีค่ามากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
ค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่น
สายให้สารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทง
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำ
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กหรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งที่จะแทง
เลือกข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทง
ผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา
เข็มที่ใช้แทง (Peripheral insertion devices)
อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ
ถุงมือสะอาด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE
ของ patient safety goal
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาด ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดออก
เช็ดจุกยาง ต่อIV set กับIV fluid
ต่อ three ways กับextension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid บีบ chamber ของ IV set
เตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
และ ลงบันทึกทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค
ด้านจิตใจ
ความพร้อม
ความต้องการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
สิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบ
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
แผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
การมีเลือดออก
การบวม
เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
การวางแผนในการบริหารยา
หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ
patient safety goals
วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดด้า
บอกผู้ป่วย
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
ตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อยมือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยาง
มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม ดันplunger ฉีด 0.9 % NSS 3 ml จนหมด
มือซ้ายเลื่อนไปจับ IVplug
มือขวาดึง syringe ออก
ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้น
มือขวาจับ syringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug
มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
มือขวาดึง syringe ออก
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
ยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย
มือขวาจับ syringeแทงเข็ม
มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม มือขวาดัน plunger ฉีด 0.9 % NSS 3 ml จนหมด
มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออก
เก็บปลอกเข็มใช้มือข้างเดียว
การฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ
ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
บอกผู้ป่วย เช็ดทำความสะอาด
เช็ด surg plugสวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา
ตรวจสอบยา ชื่อผู้ป่วย เตียง ป้ายข้อมือ
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plugดึง set IV ออก เช็ด surg plug
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ surg plug
มือขวาดึง plunger
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug
มือขวาดึง syringe ออก เช็ด surg plug
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ จนยาหมด syringe
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
แขวน piggy backปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clampจนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
เช็ด three ways สวมปลาย set IV เข้ากับ three ways เปิด clamp ปรับหยดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three waysแล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
เช็ด three ways สวมปลาย trip ของ syringe เข้ากับ
three ways มือขวาดึง plunger
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three waysปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้าๆจนยาหมด syringe
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways
แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml
ถอดปลอกเข็มวางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plug
มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม ดันplunger ฉีด 0.9 % NSS 3 mlจนหมด
มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออกเก็บปลอกเข็มใช้มือข้างเดียว
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด
มือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 %
NSS แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug
มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม มือขวาดัน plunger ฉีด 0.9 % NSS 3ml จนหมด
มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออก เก็บปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัย
หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ
patient safety goals
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อม
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบ
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาด
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
พยาธิสภาพของโรค
ระดับความรู้สึกตัว
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลการบริหารยาฉีด
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้อง
จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การปฏิบัติงาน
การให้บริการ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
ครบตามความต้องการของผู้ป่วย
ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
บวม
ไข้ (pyrogenic reactions)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสัญญาณชีพ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ประเมินสภาพร่างกาย
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอม
การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (Evaluation)
ผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion)
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด
การให้เลือด อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
เลือด (whole blood)
เกร็ดเลือด (platelet)
น้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (redblood cell หรือ erythrocyte) เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป ให้เลือดได้เฉพาะคนที่เลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่
เม็ดเลือดแดงจะแตก
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป
ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
เกิดภาวะหัวใจวาย
อาการน้ำท่วมปอด
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้
เชื้อแบคทีเรียจากเครื่องใช้
เทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
เกิดจากปฏิกิริยาต่อเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือดหรือ
โปรตีนในเลือดของผู้ให้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
ขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ไล่ฟองอากาศไม่หมด
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมาก
มีการสะสมของสารกัน
การแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose) เพิ่มขึ้น
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
ถ้าระดับโปตัสเซียมสูงมากหัวใจจะหยุดเต้น
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อม
ความต้องการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด
ความเป็นระเบียบ
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค
ประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ประเมินผลการให้เลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมตามแผนการรักษา
การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ล้างมือให้สะอาด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออกเช็ดรอบ ๆ
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิด clamp
ตรวจสอบแผนการรักษา ตรวจสอบชื่อผู้ป่วย
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือแขวน
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
บีบ chamber ของ blood set ให้ เลือดไหลลงมา
ลงบันทึกทางการพยาบาล
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
น้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
น้ำที่ร่างกายขับออก (Fluid output)
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผน
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิด
อธิบายเหตุผลและความสำคัญ
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)