Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด, image, image,…
การให้สารนำ้ทางหลอดเลือดด้า เลือดและส่วนประกอบของเลือด
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
1.1 ลักษณะที่พบได้แก่
1) บวมบริเวณที่ให้
2) ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
1.2 การพยาบาลและการป้องกัน
1) ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
2) ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออก
2.1 ลักษณะที่พบได้แก่
1) อาการเขียว
2) สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
2.2 การพยาบาลและการป้องกัน
3) ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือด
2) หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
1) ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหาร
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
3.1 ลักษณะที่พบได้แก่
1) อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก
2) ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
3) ผู้ป่วยมีปริมาณน้าเข้าและออก (intake/output) ไม่สมดุล
4) มีการคั่งของเลือดดาจะพบว่าหลอดเลือดดาที่คอโป่ง
5) ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมนำ้
3.2 การพยาบาลและการป้องกัน
1) ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
2) บันทึกสัญญาณชีพ
3) จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไข้ (pyrogenic reactions)
4.1 ลักษณะที่พบได้แก่
1) ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
2) ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
3) หนาวสั่น
4) ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่
4.2 การพยาบาลและการป้องกัน
1) หยุดให้สารอาหาร
2) บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
3) ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
4) การเตรียมสารอาหารควรทาด้วยวิธีปลอดเชื้อ
5) เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหารข้างขวด
6) ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
7) เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24 ชั่วโมง
8) ควรมีสถานที่เฉพาะสาหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาด
9) ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
10) หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เมื่อไม่มีความจาเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาให้งด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดาไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion)
หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะนำ้เลือด
แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
ทดแทนเม็ดเลือดแดง
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
เกณฑ์การประเมิน
ตามหลักการ 6 Rights
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การบันทึกปริมาณน้าเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output
3.12.1 หลักการบันทึกจ้านวนสารนำ้ที่เข้าและออกจากร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัด
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจานวนน้าและของเหลวทุกชนิด
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
6) บันทึกจานวนสารน้าที่สูญเสียทางอื่น ๆ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารนำ้ในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดาอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้าลดลง โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)