Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เป็นวิธีการรักษาพยาบาลที่กูป่วยส่วนใหญ่มักจะได้รับเมื่อผู้ป่วยต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
อาการและอาการแสดงบ่งชี้ความจำเป็นในการประเมินสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ในร่างกาย
ภาวะที่เห็นได้ชัด
การสูญเสีย อิเล็กโตรไลท์
เช่น
ท้องเสีย
อาเจียน
เสียเลือดมาก
เป็นโรคที่ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดของอิเล็กโตรไลท์
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หมายถึงการฉีดของเหลวเข้าหลอดเลือดดำโดยตรง
วัตถุประสงค์
รักษาสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
ให้สารน้ำวิตามินและเป็นพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับประทานอาหารทางปากได้
รักษาภาวะสมดุลย์ของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
รักษาภาวะสมดุลและปริมาณของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดำ
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
มี 3 ชนิด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Heparin lock หรือ Saline lock
เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคา
เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด
เพื่อให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration
เป็นการให้สารน้ าขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.²
ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ าขวดแรก
เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ สารน้ำที่ให้อยู่ก่อนจะหยุดไหลชั่วคราวจนกว่าสารน้ำใน Piggy back หมด สารน้ำในขวดหลักก็จะไหลต่อ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก หรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ
ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 m0sm/l
มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำใน
เซลล์
ทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
Hypotonic solution
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
ทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
Hypertonic solution
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l
ทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
สารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จจำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
อุปกรณ์อื่น ๆ
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Local complication
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที
หลอดเลือดดำอักเสบ
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
Systemic complication
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
การติดเชื้อในกระแสเลือด
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำหรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
โดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักควาปลอดภัย SIMPLEของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร หรือยารับประทานที่จะถูกทำลายโดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ ติดต่อกันเป็นเวลานาน
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
intravenous fluid
intravenous catheter
intravenous set
tourniquet
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand
transparent
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
วิธีท้าการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ าพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ IV set
ปิด clamp ที่ IV set
แขวนขวด IV fluid เสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
.บีบ chamber ของ IV set ให้IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ หรือน้อยเกินไป
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
. อุปกรณ์เครื่องใช้
สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
วิธีปฏิบัติ
ปิด clamp
แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้ำออกทีละชิ้น
สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์และปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง
เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของpatient safety goals
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
การฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
การฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
การฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
การฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
การฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
การฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้ั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมันให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ
เกลือแร่ ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคำนวณจำนวนเกลือแร่ให้เรียบร้อยก่อนสำหรับผู้ป่วยทั่วไป
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหารอัตราหยดต่อนาที
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
ไข้
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
งด สารละลายไขมันได้ทันที และลด
ความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประกอบด้วย 3 ส่วน
เซลล์เม็ดเลือด
เกร็ดเลือด
น้ำเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น
กรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป
กรุ๊ป A รับได้จาก A และ O
กรุ๊ป B รับได้จาก B และ O
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่ เม็ดเลือดแดงจะแตกและ
บางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป
ไข้
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจาก
เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
การถ่ายทอดโรค
มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
การอุดตันจากฟองอากาศ
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือด
อากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไปหลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการคล้ายอัมพาตบริเวณใบหน้ามือและขา ชีพจรเบา ช้า ถ้าระดับโปตัสเซียมสูงมากหัวใจจะหยุดเต้น
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล