Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือด และส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือด
และส่วนประกอบของเลือด
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
ขนาดเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยที่หมุนปรับเอง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
IV plug กับ syringe IV push
Surg plug กับ piggy back
Surg plug กับ syringe IV push
three ways กับ piggy back
iv piug กับ piggy back
three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ด้านจิตใจ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านร่างกาย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้
ความผิดปกติของจิตใจ
ภาวะทางศัลยกรรม
โรคของอวัยวะต่างๆ
โรคมะเร็งต่างๆ
โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบ
วิตามิน
โปรตีน
สารละลายไขมัน
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต
น้ำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารและน้ำทางปากได้ หรือ ทานได้น้อย ให้ได้รับอาหารและน้ำ เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ชนิด
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่ง
ทางหลอดเลือดดำแขนง
ทางหลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์
สายให้อาหาร
ชุดให้สารอาหาร
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เฉพาะที่
การติดเชื้อ
เลือดออก
หลอดเลือดดำอักเสบ
การบวม
ในระบบไหลเวียนของเลือด
การแพ้ยา
การติดเชื้อในกระแสเลือด
การเกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
การให้สารน้ำเร็ว หรือ มากเกินไป
การให้สารน้ำทางหลอดเลือด
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่แทงเข็ม
เลือกแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
แทงเข็มให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำกับผู้ป่วยที่ต้องผูกยึดแขนขา
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่เข็มแทงเข้า
อุปกรณ์เครื่องใบ้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ
หยดธรรมดา
หยดเล็ก
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
อุปกรณ์อื่นๆ
เสาแขวน
ยางรัดแขน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทาวหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
บวม
ไข้
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
สารละลายไอโซโทนิก
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
การถ่ายทอดโรค
ภาวะไข้
การอุดตันจากฟองอากาศ
ปริมาณการไหลเวียนเลือดมากเกินไป
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการ
จดบันทึกน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหาร และ ระหว่างมื้ออาหาร
ควรสรุปทุกๆ 8 ชั่วโมง
ร่วมกับผู้ป่วยกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
บันทึกสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและบันทึกน้ำที่เข้าและออกจากร่างกายทุกครั้ง
แบบฟอร์มบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด แบ่งเป็น 3 ส่วย
เกร็ดเลือด
น้ำเลือด
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์เม็ดเลือดแดง
การให้และรับเลือด
กรุ๊ป B
รับได้จาก B และ O
ให้ B และ AB ได้
กรุ๊ป A
รับได้จาก A และ O
ให้ A กับ AB ได้
กรุ๊ป AB
รับได้ทุกกรุ๊ป
ให้ได้เฉพาะ AB เท่านั้น
กรุ๊ป O
รับได้จาด กรุ๊ป O เท่านั้น
ให้ได้ทุกกรุ๊ป
กรุ๊ป Rh-ve
รับได้แค่ Rh-ve เท่านั้น
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินแผนการรักษา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ด้านจิตใจ
ด้านร่างกาย