Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
คำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
คำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา
อุปกรณ์อื่น ๆ
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
ไข้ (pyrogenic reactions)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood)
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
เกร็ดเลือด(platelet) และน้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell หรือ erythrocyte)
การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้เช่นกัน
ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจานวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัดและการบันทึก
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจานวนสารน้าที่สูญเสียทางอื่น ๆ