Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาน - Coggle Diagram
การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาน
มี2ชนิด
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
Cholinergic & anticholinergic agents
Adrenergic & adrenergic blocking agents
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
Sedative and hypnotics
Psychotherapeutic agents
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง :
Sedative and hypnotics
Psychotherapeutic agents
ยาที่ทำให้สงบและยานอนหลับ
Sedative drugs เป็นยาที่มีฤทธิ์ทำให้สงบลง ลดความตื่นเต้น อาการกระวนกระวาย
Hypnotic drugs เป็นยามีฤทธิ์ทำให้ง่วงซึม ช่วยให้หลับง่ายข้ึน
ยาทำให้สงบ (sedative drugs หรือ
anxiolytic drugs)
ควรลดอาการวิตกกังวลและท าให้สงบโดยมีผลน้อยที่สุดหรือไม่มีผลเลยต่อ การเคลื่อนไหว (motor functions) หรือความรู้สึกนึกคิดและจิตใจ (mental functions)
ความแรงในการกดระบบประสาทส่วนกลางควรจะน้อยที่สุดโดยให้อยู่ใน ระดับที่เพียงพอในการเกิดฤทธ์ิในการรักษา
ยานอนหลับ
(Hypnotic drugs)
จะทำให้เกิดอาการง่วงนอนและทำให้เกิดการหลับได้ใกล้เคียงกับรูปแบบการหลับปกติ
ยารักษาโรคจิต
(Antipsychotic Drugs)
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic drugs)
ยารักษาอารมณ์ซึมเศร้า (Antidepressant drugs) ยาคลายกังวล (Antianxiety drugs)
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic drugs)
Dopamine antagonist โดยเฉพาะ dopamine D2receptors ได้แก่ ยากลุ่มด้ังเดิม (Conventional/Typical antipsychotics ) ซ่ึงที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ Phenothiazine และ Butyrophenone
Serotonin-dopamine antagonists (SDAs) ยากลุ่มน้ีจะต้านท้ัง dopamine-D2 และ serotonin-2 receptor เรียกยากลุ่มน้ีว่าเป็ น Atypical หรือ Novel antipsychotics
ผลดีของยาในกลุ่มน้ี คือ มีประสิทธิภาพสูง และมีผลข้างเคียงน้อย
ยาในกลุ่มน้ี ได้แก่ Clozapine Risperidone Olanzapine Seroquel
ยากลุ่มอื่นๆ เช่น Partial Dopamine agonist ได้แก่ aripripazole
กลุ่มอาการเป้าหมาย
ใช้ควบคุมอาการทางจิตท่ีส าคัญ ได้แก่ อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน
ใช้ในผู้ป่วยท่ีมีอาการสับสน วุ่นวาย เอะอะ อาละวาดหรือมีพฤติกรรมรุนแรงต่างๆ ใช้ร่วมกับยารักษาอารมณ์เศร้า ในผู้ป่วยโรคจิตอารมณ์แปรปรวน