Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร, ผู้จัดทำ - Coggle Diagram
แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวคิดที่1 การบริหารแบบคลาสสิค
1.1 การบริหารแบบคลาสสิค (ค.ศ.1850 – 1930)
หลักสำคัญ
มุ่งเน้นประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประหยัดต้นทุน ทรัพยากร เวลา เน้นความทันเวลา และมีคุณภาพ
มุ่งเน้นประสิทธิผล (Effectiveness)
พิจารณาจาการนำผลของงานที่ได้รับเปรียบเทียบกับวัตถุกประสงค์
การบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์
แนวคิดของ Frederick W. Taylor
ใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
กำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
กำหนดเครื่องมือในการควบคุมงาน
แนวคิดของ Henry L. Gantt
พัฒนาระบบจูงใจด้วยโบนัส
แนวคิดของ Frank B. And Lillian. Gilbreth
ขจัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไป
เน้นด้านจิตวิยา เชื่อว่าการเคลื่อนไหวละเวลามีผลต่อประสิทธิภาพของงาน
ประหยัดเวลา สร้างผลกำไร และพนักงานมีความสุข
แนวคิดประสิทธิภาพ Harrington Emerson
The Twelve Principles of Efficiency
เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำงาน
ประสิทธิผล (Effectiveness) พิจารณาจากวัตถุประสงค์ (Objectives) และผลลัพธ์ (Outcomes)
ประสิทธิภาพ (Efficiency) พิจารณาจากปัจจัยนำเข้า (Inputs) และกระบวนการ (Outputs)
แนวคิดของ Max Weber
หลักของการแบ่งงานกันทำ
หลักของการกำหนดอำนาจหน้าที่ตามสายการบังคับ
หลักของความสามารถ
หลักของกฎ ระเบียบ ความมีวินัย และการควบคุม
หลักของความเป็นกลางทางการบริหารทุกอย่างอยู่กับตำแหน่งไม่ใช่บุคคล
หลักของความเป็นกลางทางการบริหาร
หลักการเป็นบุคลากรฝ่ายบริหารและได้รับเงินเดือนประจำ
1.2 การบริหารแบบการจัดการ
แนวคิดของ Henri Fayol
องค์ประกอบของการบริหาร POCCC
การสั่งการ (Commanding)
การประสานงาน (Coordinating)
การจัดองค์การ (Organizing)
การควบคุม (Controlling)
การวางแผน (Planning)
แนวคิดของ Luther Gulick and Lyndall Urwick
กระบวนการบริหาร PORDCoRB
P การวางแผน
O การจัดการองค์การ
R การจัดการคน
D การสั่งการ
Co การประสานงาน
R การรายงาน
B การบริหารงบประมาณ
1.3 การบริหารเชิงพฤติกรรมและวิทยาการการจัดการ
แนวคิดของ Abraham Maslow
มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด
ความต้องการในระดับล่างต้องได้รับการตอบสนองก่อนถึงจะเริ่มมีความต้องการในขั้นต่อไป
ความต้องการของมนุษย์มีความสลับซับซ้อน
แนวคิดของ Elton Mayo
ปัจจัยด้านกายภาพไม่ได้เป็นตัวกำหนดปริมาณผลผลิตทฤษฎีการบริหารที่เน้นงาน
พฤติกรรมการทำงานของคนงานถูกกำหนดโดยระบบการให้รางวัลและการลงโทษทางสังคม
แนวคิดของ Douglas McGregor
ทฤษฎี X และ Y
แนวคิดที่ 2 การบริหารงานเชิงพฤติกรรม
องค์ประกอบ
วิทยาการจัดการ
ตัวแบบทดลองใช้ เพื่อเลือกทางเลือก
การจัดการปฏิบัติการ
ออกแบบระบบเพื่อควบคุมการผลิต การดำเนินงาน การบริหาร
ระบบการจัดการสารสนเทศ
พัฒนาระบบข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยในการตัดสินใจ
กลุ่มทฤษฎีการบริหาร/การจัดการปัจจุบัน
การบริหารงานแบบทฤษฎีระบบ
ระบบจะทำหน้าที่แปรสภาพปัจจัยนำเข้าเป็นปัจจัยนำออกด้วยการบริหาร/การจัดการ
การบริหารงานที่มุ่งคุณภาพทั้งองค์กร
จัดระบบระเบียบวินัยในการทำงาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย
สร้างคุณค่าในกระบวนการทำงานทุกขั้นตอน สู่ความเป็นเลิศด้านการบริหาร
การบริหารงานแบบทฤษฎี Z ของ Willium Ouchi
เน้นความมั่นคงในการทำงาน
รับผิดชอบเป็นปัจเจกบุคคล เพิ่มคุณภาพ
มีคุณภาพชีวิตที่ทำงานและครอบครัว
การบริหารงานเชิงสถานการณ์
สถานการณ์เป็นตัวกำหนดการตัดสินใจและรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ
การบริหารงานแบบผู้นำในยุคควอนตัม
ภาวะผู้นำเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติถือโดยกำเนิด ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่สามารถพัฒนาขึ้นได้
สาระสำคัญหลัก คนมีความสำคัญ คนเป็นศูนย์กลางขององค์การ
ภาวะผู้นำแบบควอนตัมเป็นเรื่องของกระบวนการ มากกว่าเรื่องของตำแหน่ง การเป็นผู้บริหารที่ดีเฉพาะหน่วยงานย่อยจึงไม่ได้ทำให้องค์การทั้งหมดประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
ผู้จัดทำ
นายฉัตรชัย ป้องเขต SecB01 60106010055
นางสาวอนุธิดา เกณฑ์มา SecB02 60106010164
นางสาวณัฏฐ์นรี จริยพาณิชย์ SecB02 60106010069