Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Peripheral intravenous infusionการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Heparin lockหรือ Saline lockเป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดด
iggyback IV Administrationเป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 –250มล.² ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้าใหญ่(Central venous therapy)
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central lineทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implantedvascular access device หรือvenousport)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดIsotonicจึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution)
เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution)
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆได้ด้วยตนเอง
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อนเพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผลหรือแผลไหม้ที่ทำให้หลอดเลือดถูกทำลาย
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆเพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic เนื่องจากสารน้ ามีความเข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอดเลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำโดยขวดสารน้ำ/ยา
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set) ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจากขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ
ข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheral insertion devices) ทำด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24เป็นต้น
อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำยางรัดแขน (Tourniquet)แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ(Infiltration)เกิดอาการบวมบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบบริเวณที่บวมและไม่สุขสบายสารน้ำที่ให้หยดช้าลงหรือไม่ไหล
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม(Extravasations)บริเวณที่แทงเข็มบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนังผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบ
การติดเชื้อเฉพาะที่(Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวมตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน ไปตามแนวของหลอดเลือดหลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ(Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
การติดเชื้อในกระแสเลือด (BacteremiaหรือSepticemia) มีไข้สูง หนาวสั่นความดันโลหิตลดลงคลื่นไส้ อาเจียนบางครั้งมีอาการถ่ายเหลวมีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload) เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ าเร็วเกินไป โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย(Cardiac failure)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถEmergencyในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
ล้างมือให้สะอาด
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อIV setกับIV fluid
ต่อthree ways กับextension tube แล้วมาต่อกับIV set
ปิดclamp ที่IV set
ขวนขวดIV fluidเสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร
บีบchamberของ IV setให้IV fluidลงมาในกระเปาะประมาณ½ของกระเปาะ
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเครื่องใช้
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)ข้อดีของการให้วิธีนี้คือไม่ยุ่งยาก
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein) สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
S: “รู้สึกปากแห้งอยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอม
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด(Bloodtransfusion)หมายถึง การให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis) เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่เม็ดเลือดแดงจะแตกและบางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
ไข้ (Febrile transfusion reaction)เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วยจะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ อาการคั่งในจมูก
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด (Acid –citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือดระดับแคลเซี่ยมจึงลดน้อยลง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย(Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำาที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียนท้องเดิน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้ำในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้ำลดลง โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
หยุดให้สารน้ าทันที
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)