Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
และส่วนประกอบของเลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ไข้(Febrile transfusion reaction)
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ปฏิกริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
(Transfusion-associated graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ(Airembolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ
ซึ่งจะได้รับด้วยวิธีใดก็ตาม
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก(Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอก ร่างกายด้วยวิธีการต่างๆ
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำ
ที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำ
ที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิด พร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วย
บันทึกจำวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือด
และส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือด
โดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
วางแผนหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือด
และสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดา
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheralinsertiondevices)
ขวดสารน้ำ
อุปกรณ์อื่น ๆ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion)
การให้เลือดช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด
แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
เลือด (whole blood) ประกอบด้วย 3 ส่วน
เกร็ดเลือด (platelet)
น้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
(redblood cell หรือ erythrocyte)
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell หรือ leukocyte)
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดา
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่(Localcomplication)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlebitis)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ(Infiltration)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียน
ของเลือด(Systemiccomplication)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Airembolism)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
หรือมีการติดเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ
หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
การแพ้ยาหรือสารน้าที่ได้รับ (Allergic reaction)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กบั syringe IV push
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของ
การปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
วางแผนหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมากจะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ
อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการ ไหลจะช้าลง
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะ
มีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ
ทำอัตราการหยดช้าลง
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
ชนิดของสารน้าที่ให้ทางหลอดเลือดดา
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
จึงทำให้เกิดการเคลื่อน ของน้ำเข้าสู่เซลล์
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้มากกว่า 310 m0sm/l
มีโมเลกุลอิสระของน้าน้อยกว่าน้ำใน เซลล์ และจะทาให้เกิดการดึงน้ำ
จากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
มีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
Isotonic จึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้าที่อยู่นอกเซลล์
เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการ เคลื่อนที่ของน้ำเข้า
หรือออกจากเซลล์
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
ความสมดุลของน้ำในร่างกาย
กระบวนการ พยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลให้แก่ผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดา
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
เป็นการ ให้สารน้าหรือของเหลวทาง Central line
ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ รับประทานอาหารทางปาก
รับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดำ
ไว้ใต้ผิวหนัง
ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะ ๆ
ไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ส่วนปลาย(Peripheralintravenousinfusion)
การให้สารน้าหรือของเหลวทางหลอดเลือดดาที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ
ของผิวหนัง
หลอดเลือดดาที่อยู่ในส่วนปลายของ แขนและขา
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทาง
หลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง(Localinfiltration)
ไข้ (pyrogenic reactions)
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เป็นการให้อาหารที่ลัดผ่านระบบทางเดินอาหารซึ่งทาหน้าที่
ย่อยอาหารและจัดการให้อยู่ในรูปที่เหมาะสมปลอดภั
สารอาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่ผ่านตับซึ่งทาหน้าที่คัด กรองทำลายความเป็นพิษและสังเคราะห์สารอาหารให้อยู่ในรูปที่เซลล์เนื้อเยื่อของร่างกายต้องการ
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำทั้งชนิดและปริมาณจึงต้องใกล้เคียงกับภาวะที่พบในคนที่รับประทานอาหาร ได้มากที่สุด
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมัน (fat emulsion)
น้ำให้คานวณจานวนน้าที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
วิตามิน
เกลือแร่
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN) เป็นการให้โภชนบาบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN) เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (Evaluation)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)