Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์, นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา 6101210323 เลขที่14 secB -…
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO
(ABO Incompatibility)
ความหมาย
เกิดการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง เนื่องจากในขณะตั้งครรภ์หมู่เลือด ABO ของมารดาและทารกเข้ากันไม่ได
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
จากหมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดาพบเฉพาะ
ในแถบประเทศตะวันตก
ทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
แนวโน้มทารกที่มีอาการรุนแรงมักจะเกิดในคนผิวดำ
เนื่องจาก anti-A และ anti-B จะมี
ความแรงมากกว่าคนเอเชีย (Asian) และคนผิวขาว (Caucasian)
พยาธิสรีรวิทยา
มารดาหมู่เลือด O มักจะมี anti-A และ anti-B ชนิด IgG
บ่อยกว่ามารดาหมู่ เลือด A หรือ B
มารดาที่มีกลุ่มเลือด O และทารกหมู่เลือด Aหรือ B ระหว่างการตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงของทารกจะผ่านเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา หากเป็นหมู่เลือด A จะมี antigen A บนเม็ดเลือดแดงของลูก ไปกระตุ้นให้มารดาสร้าง antibody ทำให้มีantibody มากและส่วนใหญ่จะเป็น IgG
IgGผ่านรกเข้าสู่กระแสเลือดของทารกทำปฏิกิริยากับเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ทารกแรกเกิดมีภาวะซีด บวม และตัวเหลือง
อาการและอาการแสดง
ตัวเหลืองมักจะมีอาการเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อาจพบตับโต
ภาวะแทรกซ้อน
ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการที่สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะkernicterus
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจกลุ่มเลือด และประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดที่ผ่านมาเกี่ยวกับการไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด ABO
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ระดับบิลิรูบินใน serum,ตรวจนับเม็ดเลือด นับจํานวน reticulocytes และ ตรวจลักษณะรูปร่างเม็ดเลือดแดง, ตรวจหมู่เลือด ของมารดาและทารกแรกเกิด,Direct Coomb’s test เพื่อตรวจหา maternal antibodies Rh and ABO typing
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป รวมถึงการรักษาและพยาบาล
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ความหมาย
เป็นโรคผิดปกติทางพันธุกรรมของเม็ดเลือดที่พบบ่อยมากที่สุดใน
ประเทศไทย
สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
การเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว amino acid บน polypeptide chain
ทำให้เกิด Hb ผิดปกติ
ความผิดปกติทางปริมาณ
การสร้าง globin ลดลง /ไม่สร้างเลย
โดยโครงสร้างของ polypeptide chain ปกติ
การสร้าง globin สาย alpha น้อยลง เรียกว่า alpha-thalassemia
globin สาย beta น้อยลง เรียกว่า beta-thalassemia
ชนิดของโรคธาลัสซีเมีย
alpha-thalassemia
การสร้าง alpha-globin น้อยลง/ไม่สร้างเลย
alpha-thassemia-2
Hb H
alpha-thalassemia 1
Hb Bart's hydrop fetalis
beta-thalassemia
การสร้าง beta-globin น้อยลง/ไม่สร้างเลย
beta-thalassemia trait
homozygous beta-thalassemia
Hb E
beta-thalassemia/Hb E
พยาธิสรีรภาพ
ความผิดปกติของยีนทำให้การสังเคราะห์ alpha-globin และ beta-globin น้อยลง/
ไม่สร้างเลย
ทำให้globinรวมตัวกันเอง ตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด
เลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ
ขาดความยืดหยุ่นผนังของเม็ดเลือดถูกทำลายง่าย
เม็ดเลือดแดงอายุสั้น
ผู้ป่วยซีด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับม้ามโต
ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงแทนตลอดเวลา
อาการอาการแสดง
อาการรุนแรงรองลงมา
homozygous beta-thalassemia อาการรุนแรง 2-3 เดือนหลังคลอด ระดับ Hb 2.3-6.7
เจริญเติบโตช้า ตับม้ามโต เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก
อาการน้อยสุด
beta-thalassemia/Hb E
ภายในขวบปีแรก ซีด เหลือง ตับม้ามโต thalassemia facies กระดูกเปราะแตกง่าย แคระ เจริญเติบโตไม่สมอายุ ได้ยาบำรุงเลือดถ่ายเลือดเป็นประจำ
อาการรุนแรงมาก
homozygous alpha-thalassemia (Hb Bart's hydrop fetalis) จะเสีย ชีวตไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
บวมน้ำซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
ผลต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อ
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติงโตช้า
นำ้หนักน้อย
ขาดออกซิเจนขณะคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC พบ Hb Hct จำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำ
วิธีการตรวจคัดกรอง
ตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง
ตรวจวัดปริมาณฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
ทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การประเมินความเสี่ยงของคู่สมรส
พาหะ alpha1 + พาหะ alpha1 = Bart's hydropfetalis
พาหะ beta-thal+พาหะ beta-thal =Homozygous Beta-thal
พาหะ beta-thal +พาหะ Hb E = Beta-thal/Hb E disease
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
สตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว พร้อมทั้งให้การดูแลให้ได้รับการส่งต่อเพื่อปรึกษานักจิตวิทยาเมื่อมีความจำเป็น
กรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh
(Rh incompatibility)
ความหมาย
สารแอนติเจนที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงคือสาร ดี(D antigen)คนที่มีสาร D อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงก็จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชบวก (Rh positive)คนที่ไม่มีสาร D อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงก็จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชลบ (Rh negative)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ดเลือดแดง
anti-D ทารกมักมีอาการรุนแรงกว่าภาวะเม็ดเลือดแดง แตกจากหมู่เลือดระบบอื่น ๆ
พยาธิสรีรภาพ
Rh Isoimmunization จะเกิดขึ้นเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive
ขณะตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดาเกิดการสร้าง antibodies ในแม่ antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก ทำให้ทารกมีภาวะโลหิตจาง
อาการและอาการแสดง
ทารกมีhemolysis รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์จะซีดมาก อาจเกิดหัวใจวาย ตัวบวมนํ้า เรียกว่า hydrops fetalis อาจเสียชีวิตในครรภ์
รายที่ไม่ตายคลอดจะมีปัญหาซีดมากหรือ
เหลืองมากจนเสียชีวิตหรือเกิด bilirubin toxicity
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบ
ผลกระทบต่อทารก
มักพบผลกระทบต่อทารกในการตั้งครรภ์ที่ 2
ภาวะneonatal,hydropsfetalis,ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia, kernicterus,dead fetus in uterus,still birth
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด ทั้งของสตรีตั้งครรภ์และคู่สมรส ประวัติการตั้งครรภ,การตรวจร่างกาย ทารกมีภาวะโลหิตจาง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับของ bilirubin สูงขึ้น เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ถึง180mg%
ผลการตรวจ Coombs’ test ให้ผลบวกอย่างรุนแรง (strongly positive)
ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดพบ hematocrit ต่ำมาก reticulocyte count สูง
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์
ป้องกันการเกิด Isoimmunization(Rh Isoimmunization) จะเกิดขึ้นเมื่อหญิงตั้งครรภ์มี Rhnegative และทารกมี Rh positive
นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา 6101210323
เลขที่14 secB