Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท, image, image, image, image, image,…
บทที่5การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัต
ระบบประสาทซิมพาเธติค(Sympathetic) หรือ Adrenergic system
ระบบประสาทพาราซิมพาเธติค (Parasympathetic) หรือ Cholinergic system
agonistsantagonists
α-adrenergic antagonist เป็นสารที่จับกับ α-receptors ขัดขวางการออกฤทธิ์ของ sympathetic ที่ α-receptors ลักษณะเด่น ซึ่งแสดงถึงความเป็นautonomic nervous system ก็คือ มีการลดความดันลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องระมัดระวัง โดยค่อยๆเพิ่มขนาดขึ้นทีละน้อย
Cholinoceptor
เป็นตัวรับที่ทำหน้าที่จับกับAchแบ่งย่อยออกเป็น2ชนิด
muscarinic receptor ตัวรับชนิดนี้พบได้ในอวัยวะทั่วไปที่ปลายประสาทอัตโนมัติมีการคัดหลั่ง Ach ยกเว้นที่ postganglionic neuron และ adrenal medulla
nicotinic receptor ตัวรับชนิดนี้พบได้ที่postganglionic neuronและ adrenal medulla
Cholinergic drug
แบ่งตาม receptor ออกเป็น nicotinic cholinergic และ
muscarinic cholinergic
Nicotinic Cholinergic AgentsNicotine** เป็นตัวต้นแบบของ Nicotinic Cholinergic Agents พบในบุหรี่ มีผลต่อร่างกายคือกระตุ้น sympathetic และparasympathetic และมีผลต่อ CNS
Muscarinic cholinergic Agents** Acetylcholine มีผลต่อ Muscarinic ที่แรงกว่าnicotinic มากจุดเด่นของ Muscarinic อยู่ที่ post ganglionicparasympathetic nerve จะมีอยู่ที่ในสมอง ปมประสาทดังนั้นึงเรียกว่า Parasympathomimetics ซึ่งเป็นสารที่เร่งการทำงานของ parasympathetic nerve
Muscarinic Receptor Antagonist หรือ Anticholinegic Drugs
ผลต่อร่างกายและประโยชน์ทางยาของ Atropine สามารถblockmuscarinic receptors เท่านั้น มีผลต่อ receptors อื่นน้อยถ้าให้ในปริมาณมากๆจะมีฤทธิ์ต่อreceptors อื่นมากขึ้นถ้าให้ปริมาณไม่มากจะไม่มีผลต่อ CNS
Adrenergic Agents
Adrenergic Agents เป็นสารที่มีผลต่อระบบประสาทsympathetic
. Directly action drug** ออกฤทธิ์ทิ่ีAdrenoceptors ของ sympathetic effector cells โดยตรงซึ่ง Adrenoceptors ทำหน้าที่ในการจับกับ norepinephine หรือ epinephrine
Indirectly acting drugs** ออกฤทธิ์โดยการไปกระตุ้นadrenergic nerve ให้หลั่ง norepinephrine จากปลายประสาท จึงออกฤทธิ์ช้าและอยู่นาน และมี tachyphylaxis คือเมื่อให้ซ้ำๆ จะได้ผลน้อยลง เนื่องจาก norepinephrine ที่พร้อมที่จะหลั่งหมดไป จึงทำให้ใช้ยานั้นไม่ได้ผล เช่น ยาหยอดจมูกที่ช่วยให้จมูกโล่งในระยะแรกๆ จมูกจะโล่งแต่ในระยะต่อมาจะไม่ได้ผล
Mixed-acting drugs** ออกฤทธิ์ทั้ง direct และ indirect
ยาที่ออกฤกธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ทำให้สงบและยานอนหลับ Sedative and hypnotics
Hypnotic drugs** เป็นยาที่มีฤทธิ์ทำให้ง่วงซึม และทำให้หลับง่ายขึ้น
Sedative drugs** เป็นยาที่มีฤทธิ์ทำให้สงบลง และลดความตื่นเต้น และกระวนกระวาย
จะทำให้เกิดอาการง่วงนอนและทำให้เกิดการหลับได้ใกล้เคียงกับรูปแบบการหลับปกติ
จะทำให้เกิดอาการง่วงนอนและทำให้เกิดการหลับได้ใกล้เคียงกับรูปแบบการหลับปกติ
ยาในกลุ่ม Barbiturates เช่น Phenobarbital มีประสิทธิภาพในการลดอาการวิตกกังวลต่ำกว่ายาในกลุ่ม Benzodiazepines ซึ่งยาในกลุ่ม Benzodiazepines ทุกตัวไม่มีฤทธิ์ยารักษาอาการซึมเศร้ายกเว้น Alprazolam ส่วน Flurazepam มักใช้เป็นยานอนหลับเท่านั้น เพราะมีฤทธิ์อย่างอื่นน้อย
อาการไม่พึงประสงค์
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ตาพร่า วิงเวียน ปากแห้ง ลิ้นขม คลื่นไส้ อาเจียน อึดอัดบริเวณลิ้นปี่
ท้องเสีย การดื้อยา เสพติด เมื่อใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ความผิดปกติของทารกแรกเกิด
ยารักษาโรคจิตAntipsychotic Drugs
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic drugs)
Extrapyramidal Side Effects EMS เป็นการหดเกร็งของกล้ามเนื้อต่างๆบริเวณใบหน้า และล าคอ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นจะคล้ายกับอาการชัก มีอาการหน้าตาบูดเบี้ยว (facialgrimacing) คอบิด (torticollis)และตาเหลือก (oculogyriccrisis)
โดยการออกฤทธิ์ปิดการจับของ serotonin และ dopamine ทำให้เกิดอาการข้างเคียงโดยเฉพาะ EPS ได้น้อยกว่าและ สามารถรักษาได้ทั้งอาการpositive symptomsและ negative symptoms ผลข้างเคียงที่สำคัญที่สุดของยากลุ่ม SDA คือ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น
Antianxiety drug
Anticholinegic drugได้แก่ hyoscine, atropine,
belladonna extract ยาเตรยีม Atropine 1 amp
มีปริมาณ 1 cc. มีตัวยา0.6 mg
Antidepressant
ใช้รักษาผู้ป่วยอารมณ์ซึมเศร้า เช่น major depression โดยเฉพาะที่แสดงอาการทาง vegetative signs ได้แก่ นอนไม่หลับ เบื่ออาหารจนน ้าหนักลด อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ ขาดแรงจูงใจในการทำกิจกรรม และกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดอาการกระวนกระวาย วิตกกังวล ประสาทหลอน
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการกลับคืนของ serotonin และ norepinephrine (Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors) เข้าปลายประสาท ทำให้มีระดับ serotonin และ norepinephrine เพิ่มขึ้น หรือปริมาณที่จะไปออกฤทธิ์ที่ receptor มากขึ้น ทำให้ระบบประสาทส่วนกลางตื่นตัวมากขึ้น อาการซึมเศร้าก็จะทุเลาลง