Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทำให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การทำให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการ ชนิดและปัจจัยของสารน้ำ
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Heparin lock
คาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งของหลอดเลือด
Piggyback IV Administration
ให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ
ทางหลอดเลือดดำใหญ่
ทาง Central line
Subclavian vein
Internal&External jugular veins
Right &Left Nominate veins
ทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
ผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
ชนิดของสารน้ำ
สารละลายไอโซโทนิก
ความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮโปโทนิก
Osmolarity น้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
มีค่าออสโมลาริตี้มากกว่าน้ำนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้้า
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
และอาการแทรกซ้อน
ตำแหน่ง
แขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
แทงส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบตำแหน่งที่มีสภาพเหมาะสม
ผูกยึดแขนและขา
หลีกเลี่ยงบริเวณข้อพับ
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำ
อุปกรณ์
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดส่วนปลาย
Butterfly or Scalp vein
ทำด้วยเหล็กสแตนเลส
อุปกรณ์อื่นๆ
เสาแขวนขวด
ยางรัดแขน
อาการแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่
การบวม เนื่องจากสารน้ำซึมออกจากหลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนัง
อาจมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
การติดเชื้อในกระแสเลือด
เกิดฟองในกระแสเลือด
ให้สารน้ำเร็วเกินไปและมากเกินไป
การฉีดยาและการให้สาร
น้ำทางหลอดเลือดดำ
การบวนการพยาบาลการให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการ
ความต้องการรับบริการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย
ประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สุญเสียจากร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการ
รักษาสมดุลกรด-ด่าง
แก้ไขความดันโลหิต
เกณฑ์การประเมิน
ตามหลักการ 6 Rights
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินคุณภาพการบริการ
การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ยามีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือด
วิธีการฉีดแบบที่ 1
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก
ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
วิธีการฉีดแบบที่ 2
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย
มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด
มือขวาดึง syringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
วิธีการฉีดแบบที่ 3
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ
มือซ้ายจับ surg plugปลดเข็มออกจาก set IV
เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
วิธีการฉีดแบบที่ 4
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจาก syringe
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ surg plug
วิธีการฉีดแบบที่ 5
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
วิธีการฉีดแบบที่ 6
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออก
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
การให้สารอาหาร อาการแทรกซ้อน
กระบวนการพยาบาลการให้สารอาหาร
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ส่วนประกอบ
คาร์โบไฮเดรต
สารละลายไขมัน
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
เกลือเเร่
น้ำให้คำนวณตามน้ำหนักตัวผู้ป่วย
ชนิดของสารอาหาร
Total parenteral nutrition (TPN)
ให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการผู้ป่วย
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
ตำแหน่งการให้
หลอดเลือดดำแขนง
หลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์ในการให้สารอาหาร
สายให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนการให้สารอาหาร
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อน
บวม
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้
รู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ใน
ระบบไหลเวียนของเลือด
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว
อัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง
การให้สารอาหารมากเกินไป
ไข้
กระบานการพยาบาลการให้สารอาหาร
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ก่อนและขณะให้สารน้ำ
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหาร
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลการให้สารอาหาร
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินคุณภาพการบริการ
การให้เลือด ส่วนประกอบของเลือดและ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
การให้เลือด
เฉพาะเม็ดเลือด
เฉพาะน้ำเลือด
การให้เลือดและการรับเลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O
รับได้จาก O เท่านั้น
ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป AB
รับได้จากทุกกรุ๊ป
ให้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A
รับได้จาก AและO
ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B
รับได้จาก Bและ O
ให้ได้กับ Bและ AB
ภาวะแทรกซ้อน
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
กระบวนการพยาบาลในการให้เลือด
วัตถุประสงค์
ทดแทนเลือดที่สูญเสียไป
ทดแทนเม็ดเลือดแดงและรักษาฮีโมโกลบิน
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
วิธีการให้เลือด
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh.ของผู้ป่วย
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
เช็ดรอบ ๆ ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
ต่อ three ways กับ extension tube
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือ
บีบ chamber ของ blood set
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เลือกตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
รัด tourniquet เหนือที่ต้องการแทงเข็ม2-6 นิ้ว
ทำความสะอาดผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงเข็ม
ตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
เตรียม IV cath.
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพ
สังเกตปฏิกิริยา
บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
การปฏิบัติเมื่อพบอาการ
แทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
หยุดให้เลือดทันที
รายงานแพทย์
ตรวจสอบสัญญาณชีพ
เตรียมสารน้ำและยา
บันทึกจำนวนสารน้ำที่นำเข้า–ออกจากร่างกาย
การหยุดให้เลือด
การบันทึกปริมาณน้ำเข้าออก-ร่างกายและ
ส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
หลักการบันทึก
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัด
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผน
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิด
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ
ของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ
น้ำ
นม
เครื่องดื่มชนิดต่างๆ
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก
ทางปัสสาวะ
อาเจียน
อุจจาระ
การส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
ประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้ำลดลง
การปฏิบัติการพยาบาล
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์
ลดภาวะเครียด
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล