Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์, ธาลัสซีเมียแฝง, unnamed, 5t, blood-CT - Coggle…
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO (ABO Incompatibility)
เกิดการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง เนื่องจากในขณะตั้งครรภ์
หมู่เลือด ABO ของมารดาและทารกเข้ากันไม่ได้
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดาพบเฉพาะในแถบประเทศตะวันตก
ส่วนใหญ่จะพบในทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
มักจะเกิดในคนผิวดำ (Black) เนื่องจาก anti-A และ anti-B จะมีความแรงมากกว่าคนเอเชีย (Asian) และคนผิวขาว (Caucasian)
อาการและอาการแสดง
มักจะมีอาการเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ไม่ค่อยพบอาการซีดเนื่องจากการสร้างแอนติเจนในหมู่เลือด
ระบบ ABO ของทารกนั้นจะยังไม่ดีเท่าในวัยผู้ใหญ่
อาจพบตับโต หากไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ kernicterus
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการที่สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus
ทารกที่เกิดภาวะ kernicterus จะเสียชีวิตประมาณ 75 %
คนที่รอดชีวิตมักเกิด mental retard หรือ develop paralysis or nerve deafness
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดที่ผ่านมา
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
รวมถึงการรักษาและพยาบาล แก่มารดาหลังคลอดและครอบครัว
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย
และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ในทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงต่อ hemolytic disease
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
หากตรวจพบภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ
ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches เพื่อป้องกันตาเกิดการระคายเคือง
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
สารแอนติเจนที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงคือสาร ดี (D antigen)
คนที่มีสาร D อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงก็จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชบวก (Rh positive)
คนที่ไม่มีสาร D อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงก็จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชลบ (Rh negative)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์
Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ดเลือดแดง
พบในคนผิวขาวร้อยละ 85 และร้อยละ 95 พบในคนผิวดำ
อินเดียนแดง และภาคตะวันออกของอเมริกา
อาการและอาการแสดง
หากทารกมี hemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมาก
อาจเกิดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่เรียกว่า hydrops fetalis และอาจเสียชีวิตในครรภ์ได้
ในรายที่ไม่ตายคลอดก็จะมีปัญหาซีดมากหรือเหลืองมากจนเสียชีวิตหรือเกิด bilirubin toxicity ได้
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization (Rh Isoimmunization)
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของทารกในครรภ์
เจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing ตรวจ Indirect Coomb’s test เพื่อหา antibodies
ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา จะช่วยลดความกลัวและความวิตกกังวลได้
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
neonatal anemia, hydrops fetalis, ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia,
kernicterus, dead fetus in uterus, still birth
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
เป็นโรคผิดปกติทางพันธุกรรมของเม็ดเลือด
Hb ซึ่งมีโครงสร้างโมเลกุลที่ประกอบด้วย heame และ globin
heme มีองค์ประกอบที่สำคัญคือ ธาตุเหล็ก และ porphyrin
globin ประกอบด้วยสายของโปรตีน 4 สาย (polypeptide chain)
alpha (α), beta (β), gemma (γ) และ delta (δ)
สาเหตุของ Thalassemia
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม
ทำให้มีความผิดปกติในการสังเคราะห์โกลบิน (globin)
ความผิดปกติทางโครงสร้าง หมายถึง
มีการเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวของ amino acid บน polypeptide chain
ความผิดปกติทางปริมาณ หมายถึง
มีการสร้าง globin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย
ชนิดของโรคธาลัสซีเมีย
α-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้าง α-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลย
β-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้าง β-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลย
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major)
ทารกจะมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate)
มีอาการซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือขาดออกซิเจนในระยะคลอด
การพยาบาล
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ลักษณะของการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ความแตกต่างระหว่างเป็นโรคและเป็นพาหะ อาการและอาการแสดงของโรค ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก การรักษาและการพยาบาลที่จะได้รับ
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย