Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้าเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้าเลือดและส่วนประกอบของเลือด
4.การค้านวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) =จำนวนSol.(มล/ชม.) xจำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ าที่จะให้ /จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
6.อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3)การติดเชื้อเฉพาะที่
1)การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ
4) หลอดเลือดด าอักเสบ
การพยาบาล
2)ประคบด้วยความร้อนเปียก
3)เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
1)หยุดให้สารน้ำจัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
4)รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5)จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6)ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
2.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
1)การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
4)ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
3)เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
การพยาบาล
1)หยุดให้สารน้ำ
2)เปลี่ยนขวดให้สารน้ำกรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
3)ให้การช่วยเหลือตามอาการ
4)วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
5)เตรียมรถEmergencyในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6)รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7)ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8)ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9)ดูแลให้ออกซิเจน
10)จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ
1.หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central lineทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้าส่วนปลาย
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในส่วนปลายของแขนและขา
2ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก
สารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
3.สารละลายไฮเปอร์โทนิก
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
1.สารละลายไอโซโทนิก
มีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
3.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
2.ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
5.สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.การเลือกต่ำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
3)ตรวจสอบบริเวณต่ำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4)ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
5)หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆเพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
6)คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้ หากเป็นสารน้ำชนิด Hypertonic เนื่องจากสารน้ำมีความเข้มข้นของสารละลายสูง และมีความหนืดควรเลือกหลอดเลือดเส้นใหญ่ในการให้สารน้ำ
2.อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำโดยขวดสารน้ำ/ยา
2) ชุดให้สารน้ำ
4)อุปกรณ์อื่นๆ
สาแขวนขวดให้สารน้ำยางรัดแขน (Tourniquet)แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)หรือก๊อซปลอดเชื้อไม้รองแขนพลาสเตอร์สำลีปลอดเชื้อ70%Alcoholถุงมือสะอาด
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
7.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
2.1 ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2.2 ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2.3 ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
3.1ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
3.2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
3.3 ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
3.4 บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
1.1 ระดับความรู้สึกตัว
1.2 พยาธิสภาพของโรค
การประเมินแผนการรักษา
4.1 ตรวจสอบแผนการรักษา
4.2ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
tourniquet
ถุงมือสะอาดmask
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
three ways
แผ่นฉลากชื่อ
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
13.ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
2.ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ไข้ (Febrile transfusion reaction)เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจากเครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
1.เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis) เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่เม็ดเลือดแดงจะแตกและบางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ
5.การถ่ายทอดโรค มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
6.การอุดตันจากฟองอากาศเกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือด อากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
8.ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด
16.กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
2)ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
3)บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
1)หยุดให้สารน้ำทันที
4)จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วยโดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
5)เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
6)ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวร เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
7)ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
1) ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
2) ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
3) ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
15.การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
5)การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
9.การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.Total parenteral nutrition (TPN)
การให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
2.Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
การให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
ต่ำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
2.การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
2.ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
2.ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งสวมmask
3.เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือTPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
1.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ เนื่องจากผู้ป่วยเมื่อทราบว่าจะต้องให้สารอาหารมักมีความวิตกกังวล หวาดกลัว และจะถูกจำกัดการทำกิจกรรมต่างๆ
4.ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
8.ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
5.ตรวจสอบ PPN หรือTPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
7.นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
6.มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
11 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล โดย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อน ามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
14การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อน ามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไ
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
4) บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้เลือด และบันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือด ลงในแบบบันทึกการพยาบาล
2) สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
1) ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15นาที และต่อไปทุก4ชั่วโมง
3) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
2) รายงานแพทย์
3) ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
1) หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดด า (KVO) ด้วย NSS
4) เตรียมสารน้ำและยา
7) การหยุดให้เลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเลือดครบให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการหยุดให้สารน้ าทางหลอดเลือดดำ
5) ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบ
6) บันทึกจ านวนสารน้ำที่นำเข้า–ออกจากร่างกาย เพื่อดูการทำงานของไต และนำปัสสาวะส่งตรวจในรายที่ได้รับเลือดผิดหมู่
12.การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด
เกร็ดเลือด
น้ำเลือด
เซลล์เม็ดเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
4.คนเลือดกรุ๊ป Aรับได้จาก AและOให้ได้กับ AและAB
คนเลือดกรุ๊ป Oรับได้จาก Oเท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป Bรับได้จาก BและOให้ได้กับ BและAB
1.คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABOด้วย
10.อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
1.บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ไข้
การพยาบาลและการป้องกัน
1)หยุดให้สารอาหาร
2)บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
10)หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
3)ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
9)ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
4)การเตรียมสารอาหารควรท าด้วยวิธีปลอดเชื้อ
5)เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหารข้างขวดเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วไปสารอาหารแต่ละขวดไม่ควรให้นานเกิน 24ชั่วโมง
6)ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
7)เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24ชั่วโมง
8)ควรมีสถานที่เฉพาะสำหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาด กำจัดฝุ่นละอองให้มากที่สุด