Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลขั้นต้น (ด้านศัลยกรรม) - Coggle Diagram
การรักษาพยาบาลขั้นต้น
(ด้านศัลยกรรม)
Chest
Flail chest
(ภาวการณ์ทำงานล้มเหลวของกระดูกซี่โครง)
ภาวะFlal chest เป็นการบาดเจ็บต่อกระดูกทรวงอกที่รุนแรงที่สุดการบาดเจ็บประกอบด้วย
การหักของชื่โครงที่ติดกันและในโครงแต่ละซี่มีกรหักมากกว่า 2 ตำแหน่งขึ้นไป
อาการ
1.ถ้ากระดูกหักรุนแรงทิมแทงทุกเนื้อปอด
1) ลมในช่องเยื้อหุ้มปอดหรือ
2) ปอดทะลุหรือ
3 มีเลือดออกในโพรงเยื้อหุ้มปอด (Hemothorax)
ถ้ามีบาดแผลที่ผิวหนังทะลุถึงในปอด
Pneumothorax
ถ้ากระดูกซี่โครงหักหลายแห่ง
รถชน รถคว่ำ อาจทำให้เกิดภาวะอกรวน จะมีอาการหอบ ตัวเขียว ช็อก หายใจผิดธรรมชาติ ตามตำราพบว่ามักเกิดกับคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไปมากกว่าคนวัยหนุ่มสาว
การรักษา
1 ลดอากรปวดให้มากที่สุด ให้opioid หรือ (PCA)อาจปวดนาน1- 2 สัปดาห์ ได้ แต่จะหายขาดต้องใช้เวลาเป็นเดือน
2 ขับเสมหะได้มากที่สุด pt.ไม่สามารถออกแรงไอได้เพียงพอ(Epidural anesthesia) โดยยาที่ได้ผลมากที่สุดคือ Morphine sulfate ผสมกับ Bupivacain หากให้ยาระงับปวดเต็มที่แล้วผู้ป่วยควรสามารถขับเสมหะได้อย่างด
บทบาทพยาบาล
ให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา ฝ้าระวัง ติดตามการหายใจ สัญญาณชีพอย่างใกล้ชิด นอนศีรษะสูงและกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอ
หากผู้ป่วยไม่สามารถไอได้ อาจมีการกระตุ้นการอโดยการเคาะปอดใช้ยาละลายเสมหะหรือการดูดเสมหะโดยทั่วไปสามารถหลีกเลี่ยงการใส่เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วย Flail chest ได้ซึ่งมีผู้ป่วยส่วนน้อยที่จำเป็นต้องทำการ fixation ของกระดูกนิยมน้อยลงเรื่อยๆในปัจจุบัน
พบที่บ้านและพบผิวหนังทะลุถึงปอด ให้ใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซหนาปิดอุดรูรั่วไว้ก่อนและถ้าหากมีภาวะอกรวน ให้ใช้มือกดบริเวณนั้นไว้หรือให้ผู้ป่วยนอนตะแคงให้ส่วนนั้นทับบน
กลไกการบาดเจ็บ
การหายใจแบบ
paradoxical respiration
ทำให้ปอดขยายได้ไม่เต็มที่
การฟกช้ำของ ปอดทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เหมาะสม
อาการปวดที่ทำให้การไอ และการหายใจไม่เต็มที่
การวินิจฉัยภาวะดังกล่วจะยิ่งทำได้ยากมากยิ่งขึ้นหากผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจเนื่องจากไม่มีการหายใจแบบ
paradoxical respiration
Cardiac temponade
ทำให้เลือดดำไม่สามารถไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องขวา (cardiac output)ลดลง ปกติปริมาณน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจเฉลี่ย
15-30
มล. มีประโยชน์เพื่อให้หัวใจสามารถบีบและคลายตัวได้ปกติ
มีน้ำหรือเลือดสะสมในเยื่อหุ้มหัวใจเป็นปริมาณมาก ปกติจะสามารถรองรับปริมาตรน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจได้มากถึง
80-200 มล.
โดยที่ไม่เกิดมีภาวะบีบรัดหัวใจ
แต่ถ้าปริมาตรน้ำมากกว่า 200 มล
.จะทำให้เริ่มมีแรงดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ สูงขึ้นอย่างรวดเร็วและเกิดภาวะบีบรัดหัวใจ
การวินิจฉัยโรค
ได้จากการซักประวัติและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบมี voltage QRS complex และมี(T-waves ต่ำหรือแบนราบ ลักษณะที่สำคัญคือ electrical alternans) การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (พบมีเงาหัวใจ cardiac silhouette กว้างขึ้น
โดยเฉพาะถ้ามีน้ำมากกว่า 250 มล. ขึ้นไป
1.เงาหัวใจโตเป็นถุงน้ำ (globular หรือ water bottle-shaped hear)
2.การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ เป็นการตรวจที่ดีที่สุดในการวินิจฉัยภาวะนี้ เนื่องจากมีความถูกต้องและแม่นยำสูง ทำได้ง่ายได้ผลรวดเร็วทันทีสามารถเห็นน้ำใน pericardia sac
3.การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4.เอ็กชเรคอมพิวเตอร์กรสวนหัวใจข้างขวา
5..การเจาะถุงหุ้มหัวใจ
5 ลักษณะที่ชัดเจน
การรักษา
1.การเจาะถุงน้ำระบาย หรือ pericardiocentesis ทันทีในเบื้องต้นก่อนที่จะทำการเจาะระบายมักจำเป็นต้องรีบทำการกู้ชีพ(resuscitation)
2.ให้สารน้ำ (volume expanding agents) เช่น 0.9%normal saline อย่างเร็วเพื่อไมให้เกิด RU diastolic collapse หากยังคงมีความดันต่ำอยู่ตลอดควรให้ norepinephrine (levophed) เพื่อพยุงความดันให้ อยู่ในช่วงปกติ ในขณะที่รีบเตรียมอุปกรณ์สำหรับทำการเจาะถุงน้ำหุ้มหัวใจ
สาเหตุ
1.มะเร็งและวัณโรค พบบ่อยที่สุด
2.อาจจะพบจากหัวใจล้มเหลว
3.ตับแข็งเรื้อรัง
4.ตั้งครรภ์
5.การบาดเจ็บของหัวใจ
6.การติดเชื้อภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
7.โรคระบบเมตาบริ
8.จากยาที่กินอยู่ เช่นHydralazine
บทบาทพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วย
1.ผู้ป่วยหรือญาติควรได้รับการอธิบายถึง หัตถการ ประโยชน์และความเสี่ยงก่อนทำ่
2.การเซ็นใบยินยอมรักษา
3.ผู้ป่วยควรได้รับการมอนิเตอร์จังหวะการเต้นหัวใจ ความดันเลือด และความเข้มข้นออกชิเจนไนเลือดตลอดเวลาระหว่างการทำ
พยาบาลกับการดูแลหลังจากการเจาะถุงนำหัวใจ
1.ส่งถ่ายภาพรังสีทรวงอกเพื่อดูว่ามีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอด(pneumothorax) หรือไม่ต
2.ผู้ป่วยควรได้รับการ สังเกตอาการเป็นเวลา 1-2 ชั่วโมงหลังเจาะสายสวนควรเย็บให้ติดที่บริเวณผิวหนังและ
3.ทายาปฏิชีวนะ antibiotic ointment บริเวณรอบๆ แผล
4.ทำความสะอาดแผลทุกๆ 2-3 วัน ในวันแรกๆ หากยังมีน้ำมากควร ทำการดูดระบายผ่านสายสวนทุกๆ 6 ชั่วโมง (บทบาทแพทย์) แนะนำว่าไม่ควรทำการดูดระบายตลอดเวลาเนื่องจากมีโอกาส ติดเชื้อสูงผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวเปลี่ยนอริยาบถได้ขณะที่ยังใส่สายสวน
5.หากมีการปวด pericardial pain อาจให้ยาแก้ปวดกลุ่ม nonsteroidal analgesicsได้สำหรับการรักษาโรคขึ้นอยู่ กับสาเหตุที่วินิจฉัยได้ภายหลัง
Abdomen
เป็นสาเหตุการตายอันดับสองรองจากโรคมะเร็งและเป็นสาเหตุที่สำคัญของการพิการ
1.การบาดเจ็บของช่องท้องแบ่งออกเป็นชนิดที่มีแผลทะลุ (penetrating abdominal injury)
2.ไม่มีแผลทะลุ (blunt abdominal trauma)ซึ่งชนิดหลังนี้จะวินิจฉัยได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยมีประวัติไม่ชัดเจนใน ช่วงแรกหลังจากเกิดอุบัติเหตุทำให้เกิดการล่าช้าในการตรวจวินิจฉัย
อวัยวะสำคัญที่มักได้รับการบาดเจ็บของช่องท้องชนิด ไม่มีแผลทะลุ
การบาดเจ็บของม้าม (Splenic injury)
การตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยา
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้อง
การบาดเจ็บของม้ามนั้นเป็นอวัยวะที่พบได้บ่อย ที่สุดในการบาดเจ็บของช่องท้องชนิดไม่แผลทะลุ สาเหตุมักพบมาจาก อุบัติเหตุทางจราจรอุบัติเหตุจกการเล่นกีฬา และการพลัดตกจากที่สูง ลักษณะทางคลินิกมีอาการปวดท้องทั่วๆ ไป อาการของ เยื่อบุช่องท้องอักเสบและความดันโลหิตต่ำ เป็นต้น
การแบ่งระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บของม้ามตาม American Association for the Surgery of Trauma (AAST| splenic injury scale แบ่งเป็น 5 ระดับ ซึ่งเป็นบทบาทของแพทย์ในการวินิจฉัย
การบาดเจ็บของตับ (Liver Injury)
การบาดเจ็บของตับนั้นพบได้บ่อยอันดับสองรองจากม้าม และเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของการบาดเจ็บของช่องท้องชนิดไม่มีแผลทะลุเนื่องจากตับมีเส้นเลือดสำคัญ เช่น inferiorvenacava (IVC), hepaticvein, hepaticartery และ portal vein
สาเหตุ
1.อุบัติเหตุทางจราจร
2.อุบัติเหตุจกการเล่นกีฬา
3.การพลัดตกจากที่สูง
ลักษณะทางคลินิก
1.มีอาการปวดท้องบริเวณชายโครงขวา
2.มีอาการของเยื่อบุช่องท้องอักเสบถ้ามีเลือดออกในเยื่อบุช่องท้อง
3.ความดันโลหิตต่ำ
การตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยา
ตับในการบาดเจ็บของช่องท้องชนิดไม่มีแผลทะลุ
1.อัลตราชาวด์
2.เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้อง
การบาดเจ็บของไต (Kidney injury)
1.การบาดเจ็บของไตพบได้ประมาณร้อยละ 10 ของ ผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บของช่องท้อง
2.ผู้ป่วยบาดเจ็บของช่องท้องชนิดไม่มีแผลทะลุร้อยละ 80-90
สาเหตุ
เกิดจากการกระแทกอย่างรุนแรงบริเวณไตซึ่งอาจ เป็นการกระแทกโดยตรงหรือการตกจากที่สูง
ลักษณะทางคลินิก
พบว่ามีการปวดท้องบริเวณสีข้างหรือ ปัสสาวะออกมาเป็นเลือด แต่อย่างไรก็ตาม ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะปัสสาวะเป็นเลือดและการบาดเจ็บของไตอย่างชัดเจน
การตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยา
1.อัลตราซาวด์
2.เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ Intravenous urography (IVP) และ angiogram
การบาดเจ็บของตับอ่อน (Pancreatic injury)
การบาดเจ็บของตับอ่อนพบได้ประมาณน้อยกว่า ร้อยละ5ของผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บของช่องท้องเนื่องจาก ตับอ่อนเป็นอวัยวะที่อยู่ในบริเวณ retoperitoneum
สาเหตุ
1.เกิดจากการกระแทกอย่างรุนแรงบริเวณตับอ่อน
2.การกระแทกโดยตรงหรือ deceleration injury
3.มักพบร่วมกับการบาดเจ็บกับอวัยวะข้างเคียง เช่น ตับ ม้ามกระเพาะอาหาร และไต
Pelvic
Ruptured : bladder, Fractured pelvic
อุบัติการณ์...
กระดูกเชิงกรานหักจากอุบัติเหตุแบบ blunt mechanism ร้อยละ 9.3 ซึ่งกระดูกเชิงกรานที่หัก ทำให้อวัยวะในช่องท้องมีการบาดเจ็บได้ ร้อยละ 16.5 โดยพบการบาดเจ็บของตับร้อยละ 6.1 มากที่สุด รองลงมาเป็นกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะร้อยละ 5.8 ม้ามร้อยละ 5.2 และในผู้ป่วยที่มีกระดูกเชิงกรานหักอย่างรุนแรงมีอัตราเสียชีวิต ร้อยละ25-41.7 อวัยวะจะถูกปกป้องจากกระดูกช่องเชิงกราน คอของกระเพาะปัสสาวะจะอยู่บริเวณท้องน้อยด้านล่างซึ่งเป็นตำแหน่งที่บาดเจ็บได้บ่อย ถ้าหากกระดูกช่องเชิงกรานแตกหักก็มักจะมีโอกาสที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะได้เช่นกัน
สาเหตุ
บ่อยที่สุดก็คือการกระทบกระเทือนบริเวณท้องน้อย แต่ไม่มีบาดแผลจากอุบัติเหตุจักรยานกระแทกหรืออุบัติเหตุรถยนต์ที่คาดเข็มขัดนิรภัย
อาการและอาการแสดง
1.ปัสสาวะเป็นเลือดซึ่งเป็นอาการที่สำคัญ พบได้ร้อยละ 95
2.อาจจะพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะได้ รวมทั้งผู้ป่วยอาจจะมีอาการปวดบริเวณเหนือกระดูกเชิงกราน
ตรวจร่างกายพบ
กดเจ็บบริเวณเหนือกระดูกชิงกรานหรือผู้ป่วยอาจจะไม่มีปัสสาวะก็ได้
การรักษา
จะเป็นการพิจารณาสายสวนปัสสาวะเบอร์ใหญ่ เพื่อระบายปัสสาวะ และผ่าตัดทำกาปิดรักษา
ภาวะแทรกซ้อนอื่นได้
เยื้อบุช่องท้องอักเสบ
เฝ้าระวังการเจ็บป่วยต่อไปโดยการติดตามอาการ
1.สัญญาณชีพ
2.อาการเจ็บช่องท้อง
3.ไข้
4.อาเจียน
5.กดเจ็บโดยทั่วไป
Head injury
การขาดเจ็บที่ศีรษะ
อาจเป็นเพียงแผลเล็กน้อย หัวโนฟกช้ำที่หนังศีรษะ กะโหลกศีรษะร้าวทำให้สมองฟกช้ำหรือฉีกขาดหรือหลอดเลือดสมองฉีกขาดทำให้เกิดเลือดออกในสมองซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
สาเหตุ
อุบัติเหตุจราจรโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุที่เกิดกับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ในผู้ชายอายุต่ำกว่า 30 ปีและมีพฤติกรรมขับขี่รถขณะมึนเมา ไม่สมหมวกนิรภัย
การตกจากที่สูงหกล้มศีรษะกระแทก
ถูกของแข็งอุบัติเหตุจกการเล่นกีฬา
การทำร้ายร่างกาย
ในทาราแรกเกิดก็อาจมีการบาดเจ็บของศีรษะจากการคลอดอยากได้
อาการ
สมองฟกซ้ำ (Brain contusion) หรือสมองฉีกขาด (Brain laceration)
1.ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติหลังบัตรเจ็บทันที่บางรายอาจเกิดหลังจากบาดเจ็บ24 ชั่วโมงถึง 48 ชั่วโมงอาจจะหมดสติอยู่นานเป็นชั่วโมงเป็นวัน หรือเป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน
2.อาจมีอาการอัมพาตครึ่งซีก กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง เป็นมากขึ้นอาการจะเลวลงเรื่อยเรื่อยจนถึงขั้นเสียชีวิต ถ้าหากไม่รุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะสับสนเพ้อ คลื่นไส้อาเจียนเป็นอัมพาตปากเบี้ยวพูดไม่ชัดบุคลิกภาพเปลี่ยนไป
3.ก้อนเลือดในกะโหลกศีรษะ (intracranial hematoma) ถือว่าเป็นเพราะว่าร้ายแรงหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะอย่างต่อเนื่องและรุนแรงคลื่นไส้อาเจียน ซึมลงเรื่อยเรื่อย แขนขาเป็นอ่อนแรง ตัวเกร็งอาจมีอาการหมดสติหลังบาดเจ็บอยู่ครู่หนึ่ง แล้วฟื้นคืนสติได้เอง หลังจากนั้นจึงค่อยมีอาการทางสมองเกิดขึ้น ในบางรายเป็นเฉียบพลันมักมีอาการเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง
ในรายที่เป็นก้อนเลือดใต้เยอะหุ้มสมองชั้นนอกแบบเรื้อรังซึ่งจะมีเลือดออกที่ร้านให้น้อยค่อยค่อยสะสมเป็นก้อนโตพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และผู้ดื่มสุราจัด
สมองได้รับการกระทบกระเทือน (Bran concussion)
ไม่มีการฟกซ้ำหรือฉีกขาดของสมองหรือมีเลือดออกในสมอง
ผู้ป่วยมักจะมีอาการหมดสติไปเพียงชั่วครู่ส่วนใหญ่น้อยกว่า 15 นาที แต่ก็มีบางรายที่นานเป็นชั่วโมงแต่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง เมื่อพื้นแล้วจะรู้สึกงงจำเหตุการณ์ไม่ได้ อาจเป็นเพียงชั่วขณะหรือเป็นวัน บางรายมี
อาการปวดศีรษะสับสนหลงลืมขาดสมาธิหรือซึมเศร้า ซึ่งจะค่อยๆ หายไปเองได้ในที่สุดแต่อาจต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์
ในทารกมักจะมีอาการร้องเสียงแหลมซึม อาเจียน ชัก แขนขาอ่อนแรงกระหม่อมโป่งตึง ซึ่งมักจะพบประวัติการคลอดยากหรือการที่ศีรษะได้รับการกระทบกระเทือนระหว่างคลอด
สิ่งที่ตรวจพบ
😘อาจพบบาดแผลที่ศีรษะหรือไม่ก็ได้ ในรายที่สมองได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง อาจตรวจพบอาการไม่ค่อยรู้สึกตัวหรือหมดสติแขนขาอ่อนแรง คลำชีพจรเต้นช้า หายใจติดขัด ความดันโลหิตสูง คอแข็งรูม่านตาสองข้างไม่เท่ากัน ข้างที่มีก้อนเลือดจะโตกว่าและไมหดลงเมื่อใช้ไปสองภาวะแทรกซ้อน...ถ้าเป็นรุนแรงอาจถึงตายได้หรือไม่ก็อาจมภาวะแทรกซ้อน ในภายหลัง เช่น สมองพิการ โรคลมชัก บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง แขนขาเป็นอำพาต ความจำเสื่อม
การรักษา
🐱👤ถ้ามีอาการทางสมอง เช่น หมดสติ ปลุกไม่ตื่น ซึม ปวดศีรษะมากขึ้นอาเจียนรุนแรง เพ้อคลั่ง ชัก มีเลือดหรือน้ำออกจากจมูกปากหรือหูเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ส่งโรงพยาบาลโดยด่วนอาจจำเป็นต้องถ่ายภาพสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์และหากพบว่ามีเลือดออกในสมองจำเป็นต้องผ่าตัดสมองทันทีแต่ในบางรายไม่จำเป็นต้องผ่าตัด เช่น ผู้ป่วยที่มีก้อนเลือดในสมอง ขนาดเล็กหรือเป็นในตำแหน่งที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ ในรายที่ผ่าตัดไม่ได้ให้รักษาแบบประดับประคอง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน พื้นฟูสภาพด้วยการทำเป็นภาพบำบัด
ผลการรักษา
ขึ้นกับสาเหตุและความรุนแรงว่ามีมากน้อยเพียงใดสมองได้รับการกระทบกระเทือนมากน้อยขนาดไหน ในกลุ่มที่ภาวะสมองฟกช้ำหรือฉีกขาด มีอัตราการตายมากถึงร้อยละ 40 ถึง 50 และในรายที่มีเลือดออกในสมองมักเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว และในกลุ่มที่มีอาการเกิดขึ้นฉับพลันถ้าได้รับการผ่าตัดทันทีอาจหายเป็นปกติหรือลดความรุนแรงของความผิดปกติของสมองได้
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
1.ในระยะฉุกเฉิน...ต้องรีบประเมินสัญญาณชีพและประเมินอาการทางสมอง การตอบสนองของแขนขาและ เตรียมผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการผ่าตัดอย่างทันท่วงที
2.ในระยะเรื้อรังพยาบาลมีบทบาทในการช่วยส่งเสริมพื้นฟูสมรรถนะของร่างกายให้ใกล้เคียงกับปกติให้มากที่สุดรวมถึงให้ความช่วยเหลือครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพคงเหลือเช่นเป็นอัมพาตไม่สามารถทำงานหรือช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวันได้
Spinal cord injury
การบาดเจ็บที่บริเวณคอหรือหลังอาจทำให้ประสาทไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ เป็นเหตุให้เกิดอาการอัมพาตของแขนขาทั้งสี (Quadriplegia) หรือขาสองข้าง (Paraplegia) ส่วนใหญ่พบเป็นภาวะแทรกซ้อนของผู้ที่ได้รับบัตรเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรและการตกจากที่สูง
สาเหตุ
รถชน
รถคว่ำ
ตกจากที่สูง
ถูกของหนักหล่นทับ
การถูกยิง
ถูกแทงเข้ไขสันหลัง
ที่ทำให้ประสาทไขหลังได้รับการกระทบกระเทือนฟกซ้ำ เลือดออก หรือฉีกขาดทำให้เกิดอาการอัมพาตเกิดขึ้นได้ทันที
อาการ
1.ถ้าบาดเจ็บตรงระดับเอว ขาทั้งสองข้างมักจะชากระดุกกระดิกไม่ได้ ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระเองไม่ได้ อวัยวะเพศทำงานได้ไม่เต็มที่
2.ถ้าบาดเจ็บตรงระดับคอจะมีการอัมพาตของแขนทั้งสองข้างร่วมกับขาทั้งสองข้างและถ้ากระทบกระเทือนทุกส่วนที่ควบคุมการหายใจผู้ป่วยจะหายใจเองไม่ได้ และถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
ภาวะแทรกซ้อน
ในผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตนานๆ อาจแผลกดทับหรืออาจเป็นโรคติดเชื้อ
ปอดอักเสบ
ทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ง่าย
การรักษาตามอาการ
ควรให้การปฐมพยาบาลและนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ให้น้ำเกลือ
ใช้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าหายใจไม่ได้แล้วแพทย์จะให้สเตียรอยด์ ได้แก่ เม็ดทิวเพชรนิโซ โลนฉีดเข้าหลอดเลือดดำ เพื่อลดอาการบวมของสมอง ช่วยให้พื้นตัวได้ดีขึ้นถ้าจะให้ได้ผลดีต้องให้ภายใน 8 ชั่วโมงหลังได้รับการบาดเจ็บ ติดต่อกันนาน 24 ชั่วโมง
อาจต้องทำการผ่าตัดสันหลังเพื่อแก้ไขความผิดปกติและทำการเชื่อมข้อต่อกระดูกไขสันหลัง
จากนี้อาจต้องใช้น้ำหนักดึงถ่วงให้กระดูกที่เคลื่อนเข้าที่ป้องกันไม่ให้ข้อกระดูกสันหลังเคลื่อนกดทับไขสันหลัง
ผู้ป่วยต้องนอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลทำการฟื้นฟูสภาพ ทำกายภาพบำบัดและใช้อุปกรณ์หรือรถเข็นช่วยในการเคลื่อนไหวผู้ป่วย
ผลการรักษา
ขึ้นกับความรุนแรงถ้ำได้รับบาดเจ็บไม่มาก โอกาสพื้นคืนความแข็งแรงได้
โดยสังเกตว่าถ้าผู้ป่วยขยับแขนขาและมีความรู้สึกกลับคืนมา✔
ภายในหนึ่งสัปดาห์
อาจมีทางหายได้
ในกรณีไขสันหลังถูกทำลายอาการจะไม่ดีขึ้นเลย✔
ภายหลังบาดเจ็บหกเดือนไปแล้ว
ในรายที่บาดเจ็บตรงต้นคอซึ่งอาการอัมพาตหมดทั้งแขนขารวมสี่ข้างและไม่สามารถหายใจได้เอง
หากเป็นอัมพาตอย่างถาวรก็ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจประทังชีวิต ผู้ป่วยจะมีชีวิตอยู่ได้ระยะหนึ่งและมักเสียชีวิตด้วยภาวะติดเชื้อ เช่น ปอดอักเสบ ซึ่งถือเป็นภาวะแทรกซ้อนอย่างหนึ่ง
การตรวจเพิ่มเติม
เอ็กซเรย์กระดูกสันหลัง
ถ่ายภาพไขสันหลังด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์
ถ่ายภาพรังสีไขสันหลัง
การฉีดสารทึบรังสี
การปฐมพยาบาล
สำหรับผู้ที่รับบาดเจ็บคอและหลัง ถ้าผู้ป่วยหายใจไม่ได้เนื่องจาก ไขสันหลังส่วนคอได้รับบาดเจ็บให้ทำการผายปอดจนกว่าจะถึงโรงพยาบาล
ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยควรทำ ดังนี้.
ห้ามยกแบกหามผู้ป่วยโดยตรงอาจทำให้ไขสันหลังได้รับอันตรายเพิ่มมากขึ้น.
พยายามให้ผู้ป่วยนอนราบให้ศีรษะคอและลำตัวตั้งอยู่ในแนวตรงกันเสมอถ้าจำเป็นต้องเคลื่อนตัวให้เคลื่อนทุกส่วนเท่าๆ กันให้อยู่ในระนาบเดียวกันอย่าให้บิดเบี้ยว
3.ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยให้ผู้ป่วยนอนหงายบนแผ่นกระดานแข็งๆพันตัวผู้ป่วยไว้กับแผ่นกระดานป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยพลิกตัว
ถ้าสงสัยกระดูกต้นคอหัก
ควรใช้กระดาษแข็ง หรือหนังสือพิมพ์หรือผ้าพับม้วนเป็นกบแล้วสอดเข้าใต้คอผู้ป่วย ทำเป็นปลอกคอใส่ไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ขอขยับเกิดอันตรายเพื่อนย้ายผู้ป่วยโดยให้นอนหงายบนแผ่นกระดานแข็งและวางถุงทรายหรืออิฐขนาบระหว่างคอผู้ป่วยเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเอี้ยวหรือบิดคอ
คำแนะนำ
เมื่อพบผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บตรงบริเวณคอหรือหลังโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงสัยที่จะมีกระดูกคอหรือกระดูกสันหลังหรือไขสันหลังได้รับการกระทบกระเทือน ควรระมัดระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเพื่อป้องกันไม่ให้ได้รับอันตรายเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยไขสันหลังได้รับบาดเจ็บมักได้รับการรักษาจนปลอดภัยแต่อาจเป็นอัมพาตอย่างถาวร ผู้ป่วยมักมีความรู้สึกท้อแท้ ซึมเศร้า ควรให้การดูแลปัญหาด้านจิตใจควบคู่กับด้านร่างกายพร้อมกันไป หาทางปลอบขวัญและให้กำลังใจ รวมทั้งเปิดโอกาสให้พบปะแลกเปลี่ยนกับกลุ่มผู้ป่วยแบบเดียวกันเพื่อให้การช่วยเหลือและส่งเสริมกำลังใจซึ่งกันและกัน
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วย/ญาติ
ควรสอนญาติผู้ป่วยให้รู้จักวิธีดูแลผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อขวัญปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยให้ติด ตามการรักษาของแพทย์ตามนัดและควรไปพบแพทย์ก่อนนัดถ้าสงสัยว่ามีอาการผิดปกติแทรกซ้อน. และประยุกต์หลักธรรมทางศาสนาในการยอมรับความจริงปรับตัวปรับใจเพื่อดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติ