Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
Subclavian vein,Internal&External jugular veinsและ Right &Left Nominate veins
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากหรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณที่ฝังไว้ในผิวหนัง
Subclavian vein, Right &Left Nominateveins
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดด าเป็นระยะๆและไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง ต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
ให้สายน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
การให้สารน้ำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนังหรือหลอดเลือดที่อยู่ส่วนปลายแขนปลายขา
ผู้ป่วยที่งดอาหารและน้ำดื่ม
การให้ยาที่ผสมเจือจางหยดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดด้า
สารละลายไอโซโทนิก
มีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(Extracellular fluid)ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/lเมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดIsotonicจึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
Lactated Ringer’s , Ringer’s, Normal saline, 5%Dextrose in water, 5% Albumin,Hetastarch และNormoso
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ าน้อยกว่าน้ำในเซลล์และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
5% Dextrose in half-normal saline, 5% Dextrose in normal saline, 5% Dextrose in lactated Ringer’s, 3% Sodium chloride, 25% Albuminและ7.5% Sodium chloride
สารละลายไฮโปโทนิก
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ าเข้าสู่เซลล์ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
½ Normal saline, 0.33% Sodium chlorideและ2.5% Dextrose in water
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำเข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
ความหนืดของสารน้ำอถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้ำจะหยดเร็วกว่าการแขวนขวดในระดับต่ำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำทำอัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) =จำนวนSol.(มล/ชม.) xจำนวนหยดต่อมล.) หารด้วย เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ าที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้หารด้วย จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณต าแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
ถ้าจ าเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ า
ห้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ าที่หลอดเลือดด าส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆเพราะจะท าให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
เลือกหลอดเลือดด าของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ค านึงถึงชนิดของสารน้ าที่ให้ หากเป็นสารน้ าชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ าโดยขวดสารน้ า/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้ า/ยาไม่มีรอยแตกร้าว
ชุดให้สารน้ า (IV Administration set) ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ าจากขวดไปสู่หลอดเลือดด าของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ
อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ ายางรัดแขน (Tourniquet)แผ่นโปร่งใสปิดต าแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)หรือก๊อซปลอดเชื้อไม้รองแขนพลาสเตอร์ส าลีปลอดเชื้อ70%Alcoholถุงมือสะอาด
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดด าส่วนปลาย(Peripheral insertion devices) ท าด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การติดเชื้อเฉพาะที่(Local infection) บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวมตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน ไปตามแนวของหลอดเลือด
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม(Extravasations)บริเวณที่แทงเข็มบวมและมีเลือดแทรกซึมใต้ผิวหนัง
การบวมเนื่องจากสารน้ าซึมออกนอก หลอดเลือดดำ(Infiltration)เกิดอาการบวมบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
การติดเชื้อในกระแสเลือด (BacteremiaหรือSepticemia) มีไข้สูง หนาวสั่นความดันโลหิตลดลงคลื่นไส้ อาเจียนบางครั้งมีอาการถ่ายเหลว
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ าไม่หมด หรือการปล่อยสารน้ำจนหมดจนอากาศผ่านเข้าไปในชุดให้สารน้ านอกจากฟองอากาศ
การแพ้ยาหรือสารน้ าที่ได้รับ(Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ เช่น น้ำมูกไหลคันที่ผิวหนัง
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload) เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำเร็วเกินไป
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ห้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย เช่นท้องเสียอาเจียน เสียเลือด
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำติดต่อกันเป็นเวลานาน
แก้ไขความดันโลหิตโดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
เครื่องใช้
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
tourniquet
ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ าเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสส าเร็จรูป (transparent)
แผ่นฉลากชื่อ
. ถุงมือสะอาดmask
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 RightsและหลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ2 อยู่ในคุณภาพระดับใด