Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 - Coggle Diagram
บทที่ 5
พระราชบัญญัติ ยา พ.ศ. 2510
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510"
มาตรา 2* พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหกสิบวันนับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
พระราชบัญญัติการขายยา พ.ศ. 2493
พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2498
พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499
พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2500
พระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2505
มาตรา 4* ในพระราชบัญญัตินี้
วัตถุที่รับรองไว้ในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสําเร็จรูป
มาตรา 5
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 1 คณะกรรมการยา
มาตรา 6*
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการยา" ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย์ ฯลฯ
มาตรา ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตําแหน่งคราวละสองปี
มาตรา 8 นอกจากการพ้นตําแหน่งตามมาตรา 7 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่ง ตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก ล้มละลาย
การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของ จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําแนะนําหรือความเห็นในเรื่องต่อไปนี้ การอนุญาตผลิตยา ขายยา การพักใช้ใบอนุญาต การกําหนดหลักเกณฑ์
หมวด 2 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจบุัน
มาตรา ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘
ห้ามมิให้ผู้ใดผลติ ขาย หรือนําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นแต่ได้รับอนุญาต
บทบัญญัติมาตรา 12 ไม่ใช้บังคับแก่ การผลิตยาซึ่งผลิตโดยกระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย เมื่อเป็นเจ้าของกิจการและเป็นผู้มีทรัพย์สิน มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
ประเภทของใบอนุญาตสําหรับยาแผนปัจจบุัน ใบอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบัน ฯลฯ
หมวด 3 หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาต
ผลิตหรือขายยาแผนปัจจบุันไม่ตรงตามประเภทของใบอนุญาต ฯลฯ
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบนั ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง หรือเภสัชกรชั้นสอง เป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช้ยาอันตรายหรือยา ควบคุมพิเศษ
ผู้ประกอบการบําบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่งหรือผู้ประกอบการบําบัดโรคสัตว์ชั้นสอง
ประจําอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทําการ
มาตรา ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐
ให้ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันปฏิบัติ ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ผลิตยา ป้ายแสดงชื่อตัว ชื่อสกุล และวิทยฐานะของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ
ให้ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันปฏิบัติ จัดให้มีป้าย ณ ที่เปิดเผยหน้าสถานที่ขายยาที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
ใบอนุญาตหาย ยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้าวันนับแตวันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย
มาตรา ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗
ห้ามมิให้รับอนุญาตขายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ในระหว่างที่เภสัชกรหรือ ผู้ประกอบการบําบัดโรคสัตว์ไม่อยู่ปฏิบัติหน้าที่
ผู้รับอนุญาตซึ่งได้แจ้งการเลิกกิจการจะขายยาของตนที่เหลืออยู่แก่ผู้รับอนุญาตอื่น หรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควรได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันเลิกกิจการ
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันในสถานที่ผลิตยาในระหว่างที่เภสัชกรไม่ อยู่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ดังกล่าว
หมวด 4* ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน ชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรม การผดุงครรภ์หรือการพยาบาล
มาตรา ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕
เภสัช ประจําอยู่ ณ สถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามาใน ราชอาณาจักรหรือสถานที่เก็บยาตลอดเวลาที่เปิดทําการ
เภสัช พยาบาล ปฏิบัติหน้าที่ผู้มีหน้าที่ ปฏิบัติการในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยตนมิได้มีชื่อเป็น ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการในสถานที่นั้น
หมวด 5 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนํา เป็นเจ้าของกิจการ อายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ
ประเภทของใบอนุญาตสําหรับยาแผนโบราณ ใบอนุญาตขายยาแผนโบราณ
ผู้ขอ อนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ หนังสือของผู้อนุญาตแจ้งการไม่ออกใบอนุญาต
หมวด 6 หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
มาตรา ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐
ห้ามมิให้ผู้ใดผลติ ขาย หรือ นําหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนโบราณ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
ประเภทของใบอนุญาตสําหรับยาแผนโบราณ ใบอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ
ใบอนุญาตตามมาตรา 49 ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕
ผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มี หน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา 69 ประจําอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทําการ
ให้ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณปฏิบัติ ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ผลิตยา
๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐
ให้ผู้รับอนุญาตนําหรือสั่งยาแผนโบราณเข้ามาในราชอาณาจักร ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
ในกรณีใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผูู้อนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้าวันนับแตวันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย
มาตรา ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนและของผู้ประกอบโรคศิลปะแผน โบราณ ติดไว้ ณ ที่เปิดเผยเห็นได้ง่ายที่สถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา
ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตย้ายสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามา ในราชอาณาจักรหรือสถานที่เก็บยา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด 7 หน้าที่ของผู็ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
มาตรา ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑
ควบคุมการผลิตยาให้เป็นไปโดยถูกต้องตามตํารับยาที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามมาตรา 79
ห้ามมิให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติหน้าที่ ผูู้มีหน้าที่ปฏิบัติการใน สถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา หรือสถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
หมวด 8 ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
มาตรา ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕
ยาต่อไปนี้เป็นยาผิดมาตรฐาน ยาที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานโดยปริมาณหรือความแรง ของสารออกฤทธิ์ขาด
ยาต่อไปนี้เป็นยาเสื่อมคุณภาพ ยาที่สิ้นอายุตามที่แสดงไว้ในฉลาก
ห้ามมิให้ผู้ใดขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเป็นชุดในคราวเดียวกัน โดยมี เจตนาให้ผู้ซื้อใช้รวมกันเพื่อบําบัด บรรเทารักษา หรือป้องกันโรค
หมวด 10 การขึ้นทะเบียนตํารับยา
มาตรา 79 ผู้รับอนุญาตผลิตยา หรือผู้รับอนุญาตใหน้าหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
มาตรา 80 การขอขึ้นทะเบียนตํารับยาตามมาตรา ชื่อยา ปริมาณยา
มาตรา 86* ยาใดที่ได้ขึ้นทะเบียนตํารับยาไว้แล้ว หากภายหลังปรากฏว่ายานั้นไม่มีสรรพคุณ ตามที่ขึ้นทะเบียนไว้
หมวด 9 การประกาศเกี่ยวกับยา
มาตรา 76
ตำรา วัตถุที่เป็นยา ยาที่เป็นอัตาราย
มาตรา 77 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาระบุโรคหรืออาการของโรคที่ห้าม โฆษณายาว่าสามารถใช้บําบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคหรืออาการของโรคนั้นได
มาตรา 78 ประกาศของรัฐมนตรีตามหมวดนี้ให้กระทําได้เมื่อไดรับคําแนะนําจากคณะกรรมการ
หมวด 11 การโฆษณา
มาตรา 88 การโฆษณาขายยาจะต้อง
ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง
ไม่ทําให้เข้าใจว่าเป็นยาบํารุงกามหรือยาคุมกําเนิด
มาตรา 89
ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยไมสุภาพ หรือโดยการร้องรําทําเพลง หรือแสดงความ ทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
มาตรา 90
ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพกหรือออกสลากรางวัล
หมวด 12 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 91
นํายาในปริมาณพอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อตรวจสอบหรือวิเคราะห์
เข้าไปในสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่นําหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
มาตรา ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔
ในการปฏิบัติการตามหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวเมื่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องร้องขอ
ยารวมทั้งภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาและเอกสารที่ได้ยึดไว้ตามมาตรา 91
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา
หมวด 13 การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 96 เมื่อปรากฏต่อผู้อนุญาตว่าผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติตามมาตรา 14 หรือมาตรา 48 ผู้อนุญาตโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตได้
มาตรา 97 คําสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ทําเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับ อนุญาตทราบ
มาตรา ๙๘ ๙๙ ๑๐๐
ผู้อนุญาตโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งถอนคําสั่งพักใช้ใบอนุญาต ก่อนกําหนดเวลาได้
ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ รัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคําสั่งรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งให้ยกอุทธรณ์
หมวด 14 บทกําหนดโทษ
มาตรา ๑๐๑ - ๑๒๖
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีและปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 31 หรือมาตรา 32 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งพันบาทถึงห้าพันบาท
ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการผู้ใดไม่ปฏบิัติตามมาตรา 34 หรือ มาตรา 64 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้ารอยบาท
บทเฉพาะกาล
มาตรา 127 ใบอนุญาตประกอบธุรกิจการขายยาตามกฎหมายว่าด้วยการขายยากอนวันที่ พระราชบัญญตัินี้ใช้บังคับ
มาตรา 128 ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาที่ได้ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยการขายยาก่อน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา 129 ภายในสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับบรรดายาที่ผลิต ขาย หรือนํา หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร
พระราชบัญญัติ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดย
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓
มาตรา ๔
ในพระราชบัญญัติ ได้ให้ความหมายต่างๆ
มาตรา ๕
ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารายงานการรับ การจ่าย การเก็บรักษาและวิธีการปฏิบัติอย่างอื่นที่เกี่ยวกับการควบคุมวัตถุออกฤทธิ์ต่อคณะกรรมการทุกหกเดือนของปีปฏิทิน
มาตรา ๖
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๗
ประเภท ๒ วัตถุออกฤทธิ์ที่ใช้ในทางการแพทย์ และอาจก่อให้เกิดการนำไปใช้ หรือมีแนวโน้มในการนำไปใช้ในทางที่ผิดสูง
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท”
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย
การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ให้คำแนะนำต่อรัฐมนตรีเพื่อปฏิบัติการตามมาตรา ๗
วิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และให้นำความในมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙
ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
ห้ามผู้ใดผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่มีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
ผู้อนุญาตอาจอนุญาตให้ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศที่จดทะเบียนในราชอาณาจักร
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ได้ หน่วยงานของรัฐที่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๕ (๑)
มาตรา ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖
ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ หรือนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๒๑ บทบัญญัติมาตรา ๒๐ ไม่ใช้บังคับแก่ การผลิตซึ่งกระทำโดยการปรุง การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในสถานพยาบาลตามกฎหมาย
จะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขายหรือนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ได้เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต มีเภสัชกรอยู่ประจำตลอดเวลาที่เปิดทำการ
ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาต ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของผู้อนุญาตแจ้งการไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕
ผู้อนุญาตอาจออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
ผู้รับอนุญาตผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ตามมาตรา ๑๕
ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใด ผลิต ขาย นำเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทนอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
ห้ผู้รับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติ จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิต
ให้ผู้รับอนุญาตนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติ จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ ตามหลักเกณฑ์
มาตรา ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒
ให้ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติ ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งมีข้อมูลครบถ้วนตามที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าจัดไว้
ให้ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติ จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น
ให้ผู้รับอนุญาตนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติ จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตซึ่งแสดงรายละเอียดการวิเคราะห์วัตถุออกฤทธิ์ที่นำเข้า
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้โดยเปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗
ผู้รับอนุญาตผู้ใดจะเลิกกิจการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ให้แจ้งการเลิกกิจการเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้า
ให้ผู้รับอนุญาตซึ่งได้แจ้งการเลิกกิจการ ไม่ต่ออายุใบอนุญาตหรือผู้อนุญาตไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
ถ้าผู้รับอนุญาตตาย และทายาทหรือผู้ที่ได้รับความยินยอมจากทายาทแสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตเพื่อขอประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตนั้นต่อไปภายในสามสิบวัน
มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไว้ในครอบครองในปริมาณไม่เกินที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๙๐ รวมทั้งกระทรวง ทบวง กรม
หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร
มาตรา ๔๘ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒
หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออก
มาตรา ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒
ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ วัตถุออกฤทธิ์ปลอม วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
วัตถุออกฤทธิ์หรือสิ่งต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ปลอม สิ่งที่ทำเทียมวัตถุออกฤทธิ์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
วัตถุออกฤทธิ์ต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานโดยมีสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินจากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด
วัตถุออกฤทธิ์ต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ วัตถุออกฤทธิ์ที่สิ้นอายุตามที่แสดงไว้ในฉลากซึ่งขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับไว้
หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
มาตรา ๖๔
การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตำรับที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้อนุญาต
มาตรา ๖๒
ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ จะผลิตหรือนำเข้าซึ่งวัตถุตำรับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าว ต้องขอขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับนั้นต่อผู้อนุญาตก่อนและเมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับแล้วจึงจะผลิตหรือนำเข้าซึ่งวัตถุตำรับนั้นได้
มาตรา ๖๖ บทบัญญัติมาตรา ๖๕ ให้ใช้บังคับแก่การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตำรับโดยอนุโลม
มาตรา ๖๘
มื่อคณะกรรมการเห็นว่าวัตถุตำรับใดที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้วนั้น ต่อมาปรากฏว่าไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้
หมวด ๗ การโฆษณา
มาตรา ๗๐
เป็นฉลากหรือเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๗๑
ห้ามการโฆษณาหรือห้ามใช้วิธีการนั้นในการโฆษณา ห้ามการใช้ข้อความบางอย่างที่ปรากฏในการโฆษณา
มาตรา ๗๒
ในกรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๗๑ ไม่เห็นด้วยกับคำสั่งดังกล่าวให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้
มาตรา ๗๓
การอุทธรณ์ตามมาตรา ๗๒ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่ผู้อุทธรณ์ได้รับทราบคำสั่งของผู้อนุญาตหลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประการกำหนด
หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๗๔
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจหน้าที่
ค้นบุคคลหรือยานพาหนะใดๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีวัตถุออกฤทธิ์ซุกซ่อนอยู่โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๗๖
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวต่อผู้รับอนุญาตหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
มาตรา ๗๘
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๙ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๗๙
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่อายัดวัตถุออกฤทธิ์ที่เหลือของผู้ถูกพักใช้ใบอนุญาตไว้ ณ สถานที่ทำการของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๘๑
คำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง จะโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือโดยวิธีอื่นอีกด้วยก็ได้
มาตรา ๘๒
ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งยกเลิกคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนดเวลาได้
มาตรา ๘๔
ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตต้องทำลายหรือขายวัตถุออกฤทธิ์ของตนที่เหลืออยู่ในส่วนที่เกินกว่าที่กฎหมายให้มีไว้ในครอบครอง
หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
มาตรา ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐
ให้ถือว่าวัตถุตำรับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดปรุงผสมอยู่เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทนั้นด้วย
ห้ามผู้ใดมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
มาตรา ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕
ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑
ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่เป็นการเสพตามคำสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม เพื่อประโยชน์ในการรักษาพยาบาลผู้นั้น
ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก นำผ่านหรือมีไว้ในครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ต้องจัดให้มีการป้องกันตามสมควรเพื่อมิให้วัตถุออกฤทธิ์สูญหาย หรือมีการนำไปใช้โดยมิชอบ
มาตรา ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙
ห้ามผู้ใดซึ่งมิใช่เภสัชกรที่อยู่ประจำควบคุมกิจการของสถานที่ผลิต สถานที่ขาย หรือสถานที่นำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ขายวัตถุออกฤทธิ์ให้แก่ผู้อื่นในสถานที่นั้น เว้นแต่อยู่ในความควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของเภสัชกรประจำสถานที่นั้น
ในการส่งมอบวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๙๗ หรือมาตรา ๙๘ เภสัชกรต้องมอบคำเตือนหรือข้อควรระวังตามประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๗ (๖) ให้แก่ผู้ซื้อด้วย
หมวด ๑๑ การค้าระหว่างประเทศ
มาตรา ๑๐๐ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕
การนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ของผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๒๐ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๐๓ ในการนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ผู้รับอนุญาตต้องมีใบอนุญาตส่งออกของเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของประเทศที่ส่งออกนั้นมาพร้อมกับวัตถุออกฤทธิ์และต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมยานพาหนะที่ใช้บรรทุกทราบก่อนผ่านเข้ามาในราชอาณาจักร
มาตรา ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงการส่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายอื่นตามมาตรา ๑๐๕ ให้ถือว่าวัตถุออกฤทธิ์นั้นได้ส่งออกจากประเทศที่ออกใบอนุญาตเข้ามาในราชอาณาจักร
ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจำเป็น เลขาธิการมีอำนาจผ่อนผันการใช้บังคับมาตรการควบคุมตามมาตรา ๑๐๓ มาตรา ๑๐๔ มาตรา ๑๐๖ และมาตรา ๑๐๗ เกี่ยวกับการนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ได้ตามที่เห็นสมควร
มาตรา ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔
ผู้ควบคุมยานพาหนะตามมาตรา ๑๑๓ ต้องจัดให้มีการป้องกันตามสมควรเพื่อมิให้วัตถุออกฤทธิ์นั้นสูญหายหรือมีการนำไปใช้โดยมิชอบ
เมื่อกระทรวงสาธารณสุขได้รับแจ้งการห้ามนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่งประเภทใดที่ต่างประเทศได้แจ้งผ่านเลขาธิการสหประชาชาติระบุห้ามนำเข้าไปยังประเทศนั้น ให้รัฐมนตรีประกาศกำหนดการห้ามนำเข้าของประเทศนั้น
หมวด ๑๒ บทกำหนดโทษ
มาตราที่ ๑๑๕ - ๑๖๔ เช่น
มาตรา ๑๑๖ ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงสองล้านบาท
มาตรา ๑๑๘ ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงสองล้านบาท
มาตรา ๑๒๒ ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงห้าหมื่นบาท
มาตรา ๑๒๗ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๑๒๘ ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงสองหมื่นบาท
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๑๖๕
กรณีที่คำขอมีข้อแตกต่างไปจากคำขอซึ่งต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งให้ผู้ขออนุญาตแก้ไขเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น
มาตรา ๑๖๖
ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับยังคงดำเนินกิจการต่อไปได้จนกว่าใบอนุญาตนั้นสิ้นอายุ และถ้าประสงค์จะดำเนินกิจการต่อไปให้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ก่อนใบอนุญาตเดิมจะสิ้นอายุ
มาตรา ๑๖๗
ให้คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ แต่ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๖๘
บรรดากฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่ใช้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไป