Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่รักษาด้วยไฟฟ้า (ECT) - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่รักษาด้วยไฟฟ้า (ECT)
ข้อบ่งชี้การทำ ECT
1.โรคซึมเศร้าทุกชนิดและผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตาย
2.โรคอารมณ์สองขั้ว
โรคจิตเภท
4ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการใช้ยา
ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทำ ECT
ข้อห้าม : โรคทางสมองทุกชนิด โรคหัวใจทุกชนิด. โรคกระดูกทุกชนิด ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
ข้อควรระวัง : โรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่อายุเกิน 50 ปีขึ้นไป หญิงมีครรภ์ต้องเลย 3 เดือน ผู้ป่วยโรคปอดทำให้เกิดการหายใจไม่สะดวก ผู้ป่วยที่อ่อนเพลียมากๆ
ยาที่มีผลต่อการทำ ECT
1.ยากลุ่ม TCA ได้แก่ Amitriptyline Nortriptyline Imipramine Mianserin อาจทำให้เกิดความดันสูงวิกฤติอาจทำให้เสียชีวิตได้จึงควรหยุดยาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนทำแต่ผู้ที่ได้รับยานานมากกว่า 1 เดือน ร่างกายจะปรับตัวไม่จำเป็นต้องหยุดยา ยากลุ่มนี้เสริมฤทธิ์ anti cholinergic โดยเฉพาะผู้สูงอายุอาจทำให้เกิดอาการสับสนในระยะพักฟื้น
2.Lithium ไม่ค่อยมีผลต่อการทำ ECTแต่จะเสริมฤทธิ์ barbiturate ทำให้ตื่นช้า
3.Clozapine หลังทำผู้ป่วยที่ได้รับยานี้อาจมีโอกาสชักได้
4.ยากลุ่ม Benzodiazepine เช่น Diazepam Lorazepam Clonazepam Alprazolam Chlodiazepoxide ทำให้เพิ่ม seizure threshold
5.Carbarmazepine ทำให้เพิ่ม seizure threshold
6.sodium Valproate ทำให้เพิ่ม seizure threshold
ยาที่ใช้นำสลบ
Propofol
ข้อควรระวัง : hypotention myocardial depression hypoxia
Succinylcholine, Suxamethonium
ข้อควรระวัง : อาจทำให้กดการหายใจหัวใจเต้นผิดจังหวะ แรงดันในลูกตาเพิ่ม
การพยาบาล
การพยาบาลระหว่าง ECT
1.แนะนำผู้ป่วยรู้จักทีมที่ทำการรักษาและบอกบทบาทอย่างสั้น
2.ให้ผู้ป่วยนอนหงายราบบนเตียงตรวจฟันปลอมและเครื่องประดับอีกครั้งสอดหมอนเล็กๆเพื่อประคองหลังตรงบั้นเอวและคอและตรวจสอบสัญญาณชีพ
3.เตรียมเครื่องช่วยหายใจให้พร้อม
4.ทา jelly วางแผ่น electrode ไว้ที่ขมับทั้งสองข้างใช้สายรัตน์รอบศรีษะให้แน่นตึงไว้แล้วจึงต่อสายเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ปรับความเข้มข้นของกระแสไฟฟ้าเป็น 70 ถึง 130 โวลล์
5.ให้พยาบาลใส่ mouth gag เพื่อป้องกันการกัดลิ้นขณะชัก
6.ให้ผู้ช่วยสองคนจับบริเวณไหล่และข้อมือผู้ป่วยข้างละคนและอีกสองคนจับบริเวณสะโพกและหัวเข่าข้างและคุณเมื่อพี่กดปุ่มเปิดสวิตให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปยังขมับผู้ป่วยนาน 0.1-0.5 วินาทีเมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมองผู้ป่วยผู้ป่วยจะมีอาการกระตุกและหมดสติทันที
การพยาบาลหลัง ECT
ย้ายผู้ป่วยจากเตียงรักษาไปนอนที่ที่เตรียมไว้จัดท่านอนให้ในท่าที่สบายใช้ผ้าชุบน้ำเย็นเช็ดหน้าและแขนขาเพื่อความสบายเพราะหลังจากชักมีเหงื่อออกมาก
เมื่อรู้สึกตัวดีดูแลให้ดื่มน้ำและรับประทานอาหารเนื่องจากผู้ป่วยงดน้ำงดอาหารก่อนการรักษาผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะปวดกล้ามเนื้อควรดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
หลังรักษาแล้วหนึ่งวันให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมได้ตามปกติ
4.หลังทำการรักษาผู้ป่วยจะมีการสูญเสียความจำเกิดขึ้นผู้ป่วยมักวิตกกังวลมากพยาบาลมีหน้าที่ประคับประคองให้ข้อมูลว่าอาการหลงลืมนี้เป็นหมูชั่วคราวจะกลับคืนสู่ภาวะปกติได้ในเวลาไม่นานทั้งนี้ควรช่วยฟื้นฟูความทรงจำการทบทวนเรื่องราวต่างๆกระปุกป่วยเสมอ
5.หลังทำเสร็จแล้วพยาบาลควรสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดควรวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมงแรกดูการหายใจว่าติดขัดหรือไม่ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนจนกว่าผู้ป่วยจะรู้สึกดี
การพยาบาลก่อน ECT
การพยาบาลก่อน ECT
1.ให้ผู้ป่วยหรือญาติเซ็นยินยอม
2.ตรวจดูเวชระเบียนตรวจดูผล Lab เช่น CBC Ellectolyte และผล EKG
NPO หลังเที่ยงคืนก่อนวันทำจนกระทั่งทำเสร็จถ้าผู้ป่วยนอนไม่หลับให้ยานอนหลับได้และให้ดื่มน้ำได้เล็กน้อย
4.งดยาที่ทำให้ความดันโลหิตต่ำและให้หยุดยาปรับอารมณ์รวมถึงยากันชักเพราะอาจเสริมฤทธิ์กันทำให้เป็นอันตรายแก่หัวใจ
ดูแลให้ผู้ป่วยอาบน้ำสระผมและเช็ดให้แห้งเก็บ เครื่องประดับ ตรวจดูฟันปลอม
อธิบายผู้ป่วยถึงเหตุผลที่ต้องทำ ECT
บอกถึงขั้นตอนการทำและบอกถึงอาการข้างเคียงหลังทำเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามข้อสงสัยและระบายความรู้สึกกลัวและวิตกกังวล
ก่อนส่งตรวจวัดสัญญาณชีพและจดบันทึกไว้