Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
15 การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
2) อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัดและการบันทึก
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
4) จดบันทึกจานวนน้าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
6) บันทึกจานวนสารน้าที่สูญเสียทางอื่น ๆ
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
2 ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ได้แก่ 1⁄2 Normal saline, 0.33% Sodium chloride และ 2.5% Dextrose in water เป็นต้น
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
ได้แก่ 5% Dextrose in half-normal saline, 5% Dextrose in normal saline, 5% Dextrose in lactated Ringer’s, 3% Sodium chloride, 25% Albumin และ 7.5% Sodium chloride เป็นต้น
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ได้แก่ Lactated Ringer’s , Ringer’s, Normal saline, 5% Dextrose in water, 5% Albumin, Hetastarch และNormosol เป็นต้น
1 หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
Right & Left Nominate veins
Subclavian vein, Internal & External jugular veins
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
Subclavian vein, Right & Left Nominate veins
1.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้าขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.2 ต่อเข้ากับชุดให้สารน้าขวดแรก
8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กบั syringe IV push
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
4 การค้านวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
สูตรการค้านวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
9 การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
4.วิตามิน
สารละลายไขมัน
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต
น้าให้คานวณจานวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้าหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
2) โรคของอวัยวะต่างๆ
3) ภาวะทางศัลยกรรม
1) โรคทางเดินอาหาร
4) ความผิดปกติของจิตใจ
5) โรคมะเร็งต่างๆ
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ป
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจานวนหยดตามแผนการรักษา
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้าที่ร่างกายสูญเสียไป
3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่าเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
16 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดาอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณท่ีให้สารน้าลดลง
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
3) บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
4) จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
2) ประเมินอาการบวมท่ีหลังมือซ้ายทุกเวร
5) เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
1) หยุดให้สารน้าทันที
6) ประเมินการขาดสารน้าและอิเล็คโตรไลท์
7) ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือท้ังด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
2) ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
3) ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
1) ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกต้าแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
3) ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4) ถ้าจาเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
2) ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย ทำด้วยเทฟล่อน
1) ขวดสารน้ำ
4) อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้า ยางรัดแขน (Tourniquet) แผ่น โปร่งใสปิดตาแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
6 อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่(Localcomplication)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3) การติดเชื้อเฉพาะที่
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
4) หลอดเลือดดาอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
tourniquet
three ways
intravenous set (IV set)
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
วิธีท้าการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IVsetกับIVfluid
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
ต่อ threewaysกับextensiontubeแล้วมาต่อกับIVset
ล้างมือให้สะอาด
ปิดclampที่IVset
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
แขวนขวด IV fluid เสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต) จากผู้ป่วย
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล
บีบ chamber ของ IV set ให้ IV fluid ลงมาในกระเปาะประมาณ 1⁄2 ของกระเปาะ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
2) พลาสเตอร์
3) ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
1) สาลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
วิธีปฏิบัติ
3) สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
4) ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
2) แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สารน้ำออกทีละชิ้น
5) ใช้สาลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตาแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง
1) ปิดclamp
6) เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
สิ่งที่ต้องประเมิน แบ่งออกเป็น
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
10 อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ไข้ (pyrogenic reactions)
11 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำ
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดา ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย
ดูแลทางด้านจิตใจ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดาอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดาเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอด เลือดดาเป็นเวลาหลายวัน
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
S: “รู้สึกปากแห้ง อยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอม
12 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เลือด (whole blood) ประกอบด้วย 3 ส่วน
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เกร็ดเลือดและน้ำเลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ปABรับได้จากทุกกรุ๊ปแต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ปAB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
14 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เครื่องใช้
สาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
tourniquet
three ways
blood transfusion set (Blood set)
IV stand (เสาน้าเกลือ)
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 18
พลาสเตอร์ หรือ transparent สาเร็จรูป
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
13 ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
ไข้(Febrile transfusion reaction)
การอุดตันจากฟองอากาศ
(Volume overload)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)