Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด(Bloodtransfusion)
หมายถึง การให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
วัตถุประสงค์ของการให้เลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือด เพื่อสามารถสังเกตอาการปกติที่เกิดจากการให้เลือดและให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
หมู่เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
4.คนเลือดกรุ๊ป Aรับได้จาก AและOให้ได้กับ AและAB
คนเลือดกรุ๊ป Oรับได้จาก Oเท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป Bรับได้จาก BและOให้ได้กับ BและAB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABOด้วย
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
1.เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
2.ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
5.การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
6.การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
8.ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือด
และส่วนประกอบของเลือด
มีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights & หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน
3.ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
วิธีทำการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เช็ดรอบ ๆ ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิดclamp
ล้างมือให้สะอาด
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร (3 ฟุต)จากผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้ เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล และผู้ป่วยให้ความร่วมมือ
บีบ chamber ของ blood set ให้ เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ อย่าให้มากหรือน้อยเกินไป
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh.ของผู้ป่วย HN กับป้ายชื่อข้างขวดเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดจากธนาคารเลือด
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ตรวจสอบแผนการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย
14.ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
สิ่งที่ต้องประเมิน แบ่งออกเป็น
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
2) สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
3) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
1) ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15นาที และต่อไปทุก4ชั่วโมง
4) บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา ชื่อผู้ให้เลือด และบันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือด ลงในแบบบันทึกการพยาบาล
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
3) ตรวจสอบสัญญาณชีพ และสังเกตสังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างใกล้ชิด
4) เตรียมสารน้ำและยา เพื่อให้การรักษาตามแพทย์กำหนด
2) รายงานแพทย์
5) ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบ
1) หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดดำ (KVO) ด้วย NSS
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่นำเข้า–ออกจากร่างกาย เพื่อดูการทำงานของไต และนำปัสสาวะส่งตรวจในรายที่ได้รับเลือดผิดหมู่
7) การหยุดให้เลือด เมื่อผู้ป่วยได้รับเลือดครบให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
2.การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ความต้องการรับบริการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ความวิตกกังวลและความกลัว
3.การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา และประวัติการรับเลือด (มีอาการแพ้หรือไม่?)
ตรวจสอบชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย
(Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหารพร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
5)การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วยเพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียนท้องเดินของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลให้แก่ผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)