Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชวิทยา บทที่ 5 การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท - Coggle Diagram
เภสัชวิทยา
บทที่ 5 การใช้ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
•Cholinergic & anticholinergic agents
•Adrenergic & adrenergic blocking agents
1.ซิมพาเธติค(Sypathetic) กระตุ้นส่วน Parasympathetic ยับยั้งและควบคุมอวัยวะภายในระบบดังกล่าวผสมกัน เช่นหัวใจ
2.พาราซิมพาเธติค(Parasympathetic)
ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
•Sedative and hypnotics
•Psychotherapeutic agents
•Sympathetic กระตุ่น adrenergic agents
•Parasympathetic ยับยั้ง Cholinergic agents
ผลต่อร่างกายและประโยชน์ทางยา
ทำให้เส้นเลือดขยายตัว ความดันโลหิตตก ลดอัตราการเต้นของหัวใจ กระเพาะปัสสาวะหดตัวช่วยให้ปัสสาวะได้ง่าย ม้านตาหด
Adrenergic Agents
•Adrenergic Agentsเป็นสารที่มีผลต่อระบบ Sympathetic
•ส่วนA drenomimetic agents เป็นยาหรือสารออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทsympathetic
Adrenergic receptors ประกอบด้วย a-receptor ได้แก่ alpha1 alpha2 และ B-receptor ได้แก่ beta1 beta2 beta3 สารแต่ล่ะชนิดออกฤทธิ์ต่างกัน
Norepinephrine
•เป็นสารสื่อประสาทที่หลั่งจาก post ganglionic Adrenergic nerves
•ให้ทางปากไม่ได้ผล ใช้ฉีดเข้าใต้ผนังจะถูกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และถูกขับออกมาทางปัสสาวะ
Norepinephrine
•ฤทธิ์ของ Norepinephrine ทำให้ความดันสูง systoline และ diastolic
•ใช้ในความดันตกกรณีช็อ หรือระหว่างดมยาสลบ
Dopamine
•เป็นสารสื่อประสาทในสมองเมื่อแตกตัวจะได้ norepinephrineและEpinephrine ออกฤทธิ์กระตุ้น B1-receptor ของกล้ามเนื้อหัวใจ
•เป็นยาฉีดเพื่อแก้ปัญหาความดันตกอย่างรวดเร็ว(Shock)
ยาตัวอื่นที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
•Dobutamine เป็นสารสังเคราะห์โครงสร้างคล้านdopamine
•Amphetamine หรือยาบ้า ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท sympatheticและระบบประสาทส่วนกลางอย่างแรง
ยากลุ่ม B2agonist
ประกอบด้วย salbutamol,terbutaline,procaterol,fenoterol
•ข้อดีใช้ขยายหลอดลมได้ดีในผู้ป่วยหอบหืด
•ข้อเสีย แม้ว่าจะselective ต่อ B2แต่ ผลของ B1ที่หัวใจก็ยังทำให้มีใจสั่น
Adrenergic Antagonist
•a-Adrenergic antagonist เป็นสารที่จับกับ a-receptors
•ยาที่ใช้ได้แก่ Prazisin,Doxazosin
ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง
Sedative and hypnotics
Psychotherapeutic agents
:Antipsychotic agents
:Antianxiety
:Antidepressant
ยาที่ทำให้สงบและยานอนหลับ
Sedative drugs เป็นยาที่มีฤทธิ์ทำให้สงบลง ลดความตื่นเต้นอาการกระวนกระวาย
Hypnotic drugs เป็นยามีฤทธิ์ทำให้ง่วงซึม ช่วยให้หลับง่ายขึ้น
อาการนอนไม่หลับ (Insomnia) ไม่สามารถหลีบภายใน 45 นาที หรือหลับต่อเนื่องมากกว่า 5 ครั้งต่อคืน หรือหลับน้อยกว่าคืนละ 6 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์
-Oversedation
-กดการหายใจ
-แก้ชัก
-อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ตาพล่า ปากแห้ง คลื่นไส้ อาเจียน
-Hangover
-การดื้อยา
-เสพติด
ยารักษาโรคจิต(Anyipsychotic Drugs)
•ผลดีของยาในกลุ่มนี้ คือ มีประสิทธิภาพสูง และมีผลข้างเคียงน้อย
•ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ clozapine Risperidone Olanzapine Seroquel
กลุ่มเป้าหมาย
•ใช้ควบคุมอาการจิตที่สำคัญ ได้แก่ อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน
•ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการสับสน วุ่นวาย เอะอ่ะ อาระวาด หรือมีพฤติกรรมรุนแรงต่างๆ
•ใช้ร่วมกับยารักษาอารมณ์เศร้าในผู้ป่วยโรคจิตอารมณ์แปรปรวน
Antidepressants
• ยารังับอาการซึมเศร้าแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม
1.ยาระงับอาการเศร้ากลุ่มดั้งเดิม
-Monoamine oxidase inhibitors เช่น Phenelzine,Isocaroxazid
-Tricyclic antidepressant เช่น Amitriptyline,lmipramine,Desipramine
2.ยานะงับอาการเศร้ารุ่นที่2
-Selective Serotonin Reuptake Inhibitor
ยารุ่นใหม่ๆ ได้แก่ Tianeptine,Nefazodone,Mirtazapine
Tricyclic antidepressant
-กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการกลับคืนของserotonin
ทำให้มีระดับserotoninเพิ่มขึ้น
มีระยะครึ่งชีวิตยาว ดังนั้นจึงมักจะให้ยาแก่ผู้ป่วยวันละครั้งดูดซึมได้ดีในระบบทางเดินอาหาร ถูกทำลายที่ตับและขับออกทางไตและน้ำดี
ผลข้างเคียงของยา
•Orthostatic hypotension เป็นผลมาจากการขัดขวางa-Adrenergic receptor ที่หลอดเลือด
•Cardio toxicity ทำให้การนำกระแสไฟฟ้าช้าลง
•ห้ามใช้ในผู้ป่วยอารมณ์ซึมเศร้าที่มีอาการกระวนกระวายมากๆ
Selective Serotonin Reuptake Inhibitor
-กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการเก็บกลับคืนเฉพาะserotonin
Monoamine oxidase inhibitors
•มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ MAO ที่ใช้เผาผลาญ amine
•กระบวนการนี้ใช้เวลา 2-3 สัปดาห์ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการดีขึ้นของอาการซึมเศร้า
•มักใช้ระงับอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อยาในกลุ่มTricyclicantidepressant
•ดูดซึมได้ดีจากระบบทางเดินอาหารถูกทำให้หมดฤทธิ์ที่ตับและขับออกทางปัสสาวะ
กลุ่มเป้าหมาย
•ใช้รักษาผู้ป่วยอารมณ์ซึมเศร้า เช่น major depression
•ใช้ในผู้ป่วยจากการเจ็บป่วยทางกาย หรือใช้ในผู้ป่วยจิตเวชอื่นๆที่มีอารมณ์ซึมเศร้าร่วมด้วย
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษของยา
•กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้วาย วิตกกังวล ประสาทหลอน
•Orthostatic hypotension ออกฤทธิ์ลดความดันโลหิตเนื่องจากหลอดเลือดขยายตัว
•Hypertensive crisis
Tricyclic antidepressant
-กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการกลับคืนของ serotonin
ทำให้ระดับ serotonin เพิ่มขึ้น
มีระยะครึ่งชีวิตยาว
ผลข้างเคียง
-ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้ากระวนกระวายมากๆ
-ทำให้การนำกระแสไฟฟ้าลดลง