Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำ
ที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนัง
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม
เพื่อเตรียมผ่าตัด
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ
โดยเฉพาะการให้ยาที่ผสมเจือจาง
และหยดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
Heparin lock หรือ Saline lock
เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ส่วนปลายและคา เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด
ให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดาเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration
เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ
ขณะที่สารน้าใน piggyback set หยด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line
ทางหลอดเลือดดำใหญ่
Subclavian vein
Internal & External jugular veins
Right & Left Nominate veins
จะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่
ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลาย
ทางหลอดเลือดดำเป็นระยะ ๆ
ไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลาย
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก
จะช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
Lactated Ringer’s
Ringer’s, Normal saline
Normosol
สารละลายไฮโปโทนิก
ค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
การเคลื่อน ของน้ำเข้าสู่เซลล์ การให้สารน้ำชนิดนี้
ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
2.5% Dextrose in water
1⁄2 Normal saline
0.33% Sodium chloride
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์
เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
5% Dextrose in half-normal saline
5% Dextrose in lactated Ringer’s
3% Sodium chloride
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การแขวนขวดสารน้ำให้สูง
สารน้ำจะหยดเร็วกว่า
ขวดสารน้ำอยู่ต่ากว่าระดับหลอดเลือด
แรงดันในหลอดเลือดจะมากกว่าทำให้
เลือดไหลย้อนเข้ามาในเข็มและปนกับสารน้ำในสายให้สารน้ำ
ความหนืดของสารน้ำ
น้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง
อัตราการหยดจะเร็วกว่า
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำ
มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
ทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
อัตราการ ไหลจะช้าลง
ถ้าปลายข้อต่อของสายให้น้ำถูก
ดึงรั้งจนหลวมหลุดจากเข็ม
สารน้ำจะไหลเร็วแต่ไม่เข้าหลอด เลือดดำ
มีเลือดออกมาจากหัวเข็ม
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
แน่นหรือตึงเกินไป
อัตราการหยดช้าลง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
ทำให้เข็มเคลื่อนที่ปลายตัดของเข็มแนบ
ชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่นหรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การค้านวณอัตราการหยดของสารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ ซม.)/ เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำ ส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้
ตำแหน่งเส้นเลือดดำส่วนปลายที่แขนและมือ
เหมาะสำหรับการให้ สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Basilic vein
Cephalic vein
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ไม่มีบาดแผล
ถ้าจาเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับ
ทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คานึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
เป็นทางผ่านของสารน้ำจาก ขวดไปสู่หลอดเลือดดำของ
ผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ
สามารถเปิดใช้ได้ทันที
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheralinsertiondevices)
ทำจากเทฟล่อน
Butterfly or Scalp vein
ทำจากเหล็กสแตนเลสหรือโลหะ
อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม
(Transparent dressing)
ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลี ปลอดเชื้อ
70% Alcohol ถุงมือสะอาด
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่(Localcomplication)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอกหลอดเลือดดำ
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การติดเชื้อเฉพาะที่
หลอดเลือดดำอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ในระบบไหลเวียนของเลือด(Systemiccomplication)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง
ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
หายใจไม่สะดวกเนื่องจากมี Bronchospasm
น้ำมูกไหล
หายใจไม่สะดวกเนื่องจากมี Bronchospasm
มีไข้สูง หนาวสั่น
ความดัน โลหิตลดลง
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
เกิดจากอัตราการหยดของสารน้ำ เร็วเกินไป
โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ
เกิดอาการหัวใจวาย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย
และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง
การประเมินแผนการรักษา
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ข้อวินิจฉัย
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights
การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง
ที่ไม่พึงประสงค์
ปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เมื่อให้สารน้ำครบตามจำนวนที่ต้องการ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
การประเมินด้านจิตใจ
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ระดับความรู้สึกตัว
ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การวางแผนในการบริหารยา
วางแผนบริหารยาตามหลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
IV plug กับ piggy back (100 ml)
IV plug กับ syringe IV push
Surg plug กับ piggy back (100 ml)
Surg plug กับ syringe IV push
three ways กับ piggy back (100 ml)
three ways กบั syringe IV push
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการแทรกซ้อน
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วย
ปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rights
และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
อุจจาระร่วง
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคทางเดินอาหาร
อุจจาระร่วงเรื้อรัง
การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้ อักเสบ จากการฉายรังสี
โรคของอวัยวะต่างๆ
โรคหัวใจแต่กาเนิด
ไตวาย
ความผิดปกติของจิตใจ
anorexia nervosa
ภาวะทางศัลยกรรม
ถูกน้าร้อนลวก
โรคมะเร็งต่างๆ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดด้า
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
จะมีความเข้มข้นสูงมาก จำเป็นต้องให้ทาง Central vein จึงจะไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบาบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
สามารถให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein) ได้
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่
ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง(Localinfiltration)
บวมบริเวณที่ให้
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อ
ควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
พบบ่อย
ก้อนเลือด (thromboembolism)
อากาศ (air embolism)
สาเหตุที่ฟองอากาศเข้าไปในหลอดเลือดมักเกิดจากการปล่อยให้สารอาหารหมดขวดจนมีอากาศ เข้าไปในชุดสายให้สารอาหาร หรือเกิดจากการไล่ฟองอากาศออกไม่หมดก่อนให้สารอาหาร
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว
ฟองอากาศไปอุดกั้นการไหลเวียนเลือดที่
จะไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญ
หัวใจ
ปอด
สมอง
สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง
หรือหยุดไหล
การพยาบาลและการป้องกัน
ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหาร
ไม่ให้อากาศผ่านเข้าไปในชุดสาย ให้สารอาหาร
หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึง
ทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือดและ ถ้าผู้ป่วยมีอาการแสดงให้บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์ด่วน
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก
ผู้ที่มีปัญหาของ ระบบไหลเวียนเลือด และไต
ไข้ (pyrogenic reactions)
อาจมีการปนเปื้อนในการเตรียมสารอาหาร หรือการฉีดยาทางสายยางให้อาหาร สารอาหารเสื่อมอายุ หมดอายุ
ขวดบรรจุสารอาหารมีรอยร้าว
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ไมเ่กิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไมเ่กิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ปABรับได้จากทุกกรุ๊ป
แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ปAB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่ เม็ดเลือดแดงจะแตกและ
บางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทาให้ไตวาย
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
(Volume overload)
เกิดจากการให้เลือดใน อัตราเร็วเกินไป
จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด
ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
เกิดภาวะหัวใจวาย และมีอาการน้าท่วมปอด
ไข้(Febrile transfusion reaction)
เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรีย
จาก เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
ปฏิกริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
เกิดจากการขาด การตรวจสอบเลือดของผู้ให้
ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
HIV
โรคภูมิแพ้
มาเลเรีย
การอุดตันจากฟองอากาศ(Airembolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมด
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมาก
มีการสะสมของสารกัน การแข็งตัวของเลือด
(Acid – citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับ
แคลเซียมในเลือดระดับแคลเซียมจึง ลดน้อยลง
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)
เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
พบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการคล้ายอัมพาตบริเวณ ใบหน้ามือและขา
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือด
และส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
การตกเลือดหรือจากการผ่าตัด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง
และรักษาระดับฮีโมโกลบิน (hemoglobin: Hb)
รักษาระดับ ความสามารถในการ
นำออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ของร่างกาย
ผู้ป่วยโลหิตจาง
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย (hemophelia)
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที
และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
บันทึกอาการของผู้ป่วยหลังให้เลือด
ลงในแบบบันทึกการพยาบาล
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
(Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง
ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจาตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัด
และการบันทึกจานวนน้าที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้ำ
ที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
บันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
บันทึกจานวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น
อาเจียน
ท้องเดิน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
ความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
อาการปวดบริเวณท่ีให้สารน้ำลดลง
โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง