Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
4.3.1 หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
4.3.8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
4.3.2 ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution) ค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
3.สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution) เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
1.สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution) จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์
4.3.7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินแผนการรักษา
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินด้านร่างกาย
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ
4.3.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
5.สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ ทำอัตราการหยดช้าลง
2.ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
4.3.4 การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที/เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
4.3.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
3)ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4)ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
5)หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
6)คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
2.อุปกรณ์เครื่องใช้
2) ชุดให้สารน้ำ
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
1) ขวดสารน้ำ
4) อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน แผ่น
โปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม
4.3.6 อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้้ำอาจจะมี
หนองบริเวณที่แทงเข็ม
4) หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemiccomplication)
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
4.3.9 การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
3) ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก
4) ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
2) โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย
5) โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
1) โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
2.Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
Total parenteral nutrition (TPN)
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อม
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร
อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบ
แอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
4.3.10 อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดเช่น อาการเขียว
การให้สารอาหารมากเกินไปเช่น ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ไข้(pyrogenic reactions) เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่
กระแสเลือด
4.3.11 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
4.3.12 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion) หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด
แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
4.3.14 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
4.3.13 ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
การถ่ายทอดโรค
ไข้
การอุดตันจากฟองอากาศ
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
4.3.15 การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย (Record Intake-Output)
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่
รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
6) บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน
4.3.16 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)