Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เลือดและส่วนประกอบของเลือด, : - Coggle Diagram
เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบ
เซลล์เม็ดเลือดขาว(white blood cell)
เกร็ดเลือด (platelet)
เซลล์เม็ดเลือดแดง(red blood cell)
น้ำเลือด(plasma)
การให้เลือด
ให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ แม้การให้เลือดจะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้แต่ก็อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
การให้และการรับในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABOด้วย
คนเลือดกรุ๊ปOรับได้จากOเท่านั้นต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ปAB รับได้จากทุกกรุ๊ปเลือดแต่ให้ได้แค่กรุ๊ปเลือดAB
คนเลือดกรุ๊ปB รับได้จาก B O และให้ได้กับ B และAB
คนเลือดกรุ๊ปA รับได้จาก A O และให้ได้กับAและ AB
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ(Fluid intake)
จำนวนน้ำหรือของเหลวทุกชนิดที่ร่างกายได้รับ เช่น การดื่มน้ำ การได้รับสารน้ำ ยา
จำนวนน้ำที่ขับออกจากร่างกาย(Fluid output)
จำนวนน้ำที่ร่างกายสูญเสียออกนอกร่างกาย ได้แก่ปัสสาวะ อาเจียน อุจจาระ ของเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ
หลักการบันทึกจำนวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสานยางจากกระเพาะ
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ24ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้ ไม่นำน้ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่4 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวของผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
หยุดให้สารน้ำทันที
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวรเพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขได้โดยเร็ว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้(Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค(Transfusion graft versus host disease)
ไข้(Febrile transfusion reaction)
การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว(Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ(Hyperkalemia)
: