Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
1 หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
1.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
10 อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
2.มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
3.การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
4.ไข้ (pyrogenic reactions)
14 การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
1.การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
ในการคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดด้าที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
6) คำนึงถึงชนิดของสารน้ำ
3) ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำ
2) ชุดให้สารน้ำ
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
4) อุปกรณ์อื่น ๆ
8.การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
2.การประเมินด้านจิตใจ
3.การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
4.การประเมินแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
12 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
2.คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย
13 อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
4.ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
11.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รบัสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอม
S: “รู้สึกปากแห้ง อยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำ
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นในการได้สารอาหาร
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นการประเมินผลลัพธ์ การพยาบาล
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอด เลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลาย วัน
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
5.สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
8.การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
2 .ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
2.สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
1.สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
9 การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า
3) ภาวะทางศัลยกรรม
4) ความผิดปกติของจิตใจ
2) โรคของอวัยวะต่างๆ
5) โรคมะเร็งต่างๆ
1) โรคทางเดินอาหาร
วัตถุประสงค์
1.ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
2.ทดแทนน้ าที่ร่างกายสูญเสียไป
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดด าแขนง
2.การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ตอ่สายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหาร
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
15.การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
1 .หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย