Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๓
สุขภาพ
สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม
ปัญญา
ความรู้ทั่ว รู้เท่าทัน และความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผล
ระบบสุขภาพ
ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
สร้างเสริม สุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
บุคลากรด้านสาธารณสุข
ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อกำหนดรองรับ
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๖
สุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจำเพาะซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา ๗
ความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนำไป
เปิดเผยในประการที่น่าจะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
มาตรา ๙
ผู้รับบริการเป็น ส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
ต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือ
มาตรา ๑๒
ทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นรองประธานกรรมการ
นายกรัฐมนตรีกำหนดจำนวนไม่เกินห้าคน
ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพด้านสาธารณสุขที่มีกฎหมายจัดตั้งองค์กรละหนึ่งคน
ผู้แทนองค์กรภาคเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร
มาตรา ๑๔
สัญชาติไทย
มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
ไม่เป็นผู้มีความผิดปกติทางจิตอันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่
ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ
ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยถึงไล่ออก ไม่เคยได้รับโทษจำคุก
มาตรา ๒๕ ให้ คสช. มีหน้าที่และอำนาจ
จัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ ความเห็นชอบ
เสนอแนะหรือให้คำปรึกษาต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพ และติดตามผลการดำเนินงานตามที่ได้เสนอแนะหรือให้คำปรึกษาดังกล่าวพร้อมทั้ง เปิดเผยให้สาธารณชนทราบด้วย
จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติและสนับสนุนในการจัดให้มีสมัชชาสุขภาพเฉพาะ พื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น
จัดให้มี หรือส่งเสริม สนับสนุนให้มีกระบวนการในการพัฒนานโยบายและ ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับระบบสุขภาพแห่งชาติและผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
เสนอแนะหรือให้คำปรึกษาในการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัตินี้ หรือการออก กฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
กำหนดนโยบาย และกำกับดูแลการดำเนินการของคณะกรรมการบริหารและสำนักงาน
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๗
รับผิดชอบงานธุรการของ คสช.
ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
สำรวจ ศึกษาและวิเคราะห์
มาตรา ๓๙
กำหนดนโยบาย และกำกับดูแล
กำหนดคุณสมบัติของเลขาธิการและรองเลขาธิการ
อนุมัติแผนงานหลัก แผนการดำเนินงาน
ออกข้อบังคับ ระเบียบ
จัดให้มีการประเมินผลการดำเนินงาน
สมัชชาสุขภาพ
มาตรา ๔๐
จัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น
หรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา ๔๓
กำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการประชุม ซึ่งต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันประชุม
มาตรา ๔๕
สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนำไปปฏิบัติ หรือนำไปพิจารณาประกอบในการกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๗
ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
สร้างเสริมสุขภาพ
ป้องกันและควบคุมโรค
ส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
คุ้มครองผู้บริโภค
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๙
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน
หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๕๔
ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๗
ลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วย
บริการประจำของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
กรณีอุบัติเหตุหรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้บุคคลนั้นมีสิทธิเข้ารับบริการจากสถาน
บริการอื่นได้
มาตรา ๑๐
ประกันสังคมส่งเงินค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนประกันสังคมให้แก่กองทุนตามจำนวนที่คณะกรรมการและคณะกรรมการประกันสังคมตกลงกัน
มาตรา ๑๑
ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงลาโหม
ผู้แทนเทศบาลหนึ่งคน
ผู้แทนองค์กรเอกชน
ผู้แทน ผู้ประกอบอาชีพด้านสาธารณสุข
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๒๓
กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
และค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่รัฐมนตรีกำหนด
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖
รับผิดชอบงานธุรการ
เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน
จัดให้มีทะเบียนผู้รับบริการ หน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย
ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมาย
มาตรา ๓๗
ให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะอนุกรรมการตรวจสอบและรายงานเลขาธิการตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การส่งเสริมให้บุคคลสามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ให้ใช้จ่ายเงินกองทุนโดยคำนึงถึงการพัฒนาการบริการสาธารณสุขในเขตพื้นที่ที่ไม่มีหน่วยบริการเพียงพอหรือมีการกระจายหน่วยบริการอย่างไม่เหมาะสม
หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ รวมทั้งวิธีการ
ประชาสัมพันธ์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
อธิบดีกรมการแพทย์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
ผู้แทนแพทยสภา ผู้แทนสภาการพยาบาล ผู้แทนทันตแพทยสภาผู้แทนสภา
เภสัชกรรม และผู้แทนสภาทนายความ
ผู้แทนโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นสมาชิกของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน
ผู้แทนเทศบาลหนึ่งคน
พนักงานเจ้าหน้าที่
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการ หรือของเครือข่ายหน่วยบริการ ในระหว่างเวลาทำการ เพื่อตรวจสอบ สอบถามข้อเท็จจริง ตรวจสอบทรัพย์สินหรือเอกสารหลักฐาน ถ่ายภาพ ถ่ายสำเนา หรือนำเอกสารที่เกี่ยวข้องไปตรวจสอบ
การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา ๕๗
ตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กำหนด
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๖๓
จำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา ๗
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อธิบดี
ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้แทนสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินการสถานพยาบาล
มาตรา ๑๔
สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
จัดให้มีการศึกษา การฝึกอบรม การวิจัยทาง
การแพทย์และสาธารณสุข หรือการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๗
พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่
การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๔๙
ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ
บทกำหนดโทษ
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตาม
มาตรา ๑๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
ประกอบกิจการสถานพยาบาลหรือใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลที่ออกตามพระราชบัญญัติ
บททั่วไป
ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรค
ระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
อธิบดีกรมปศุสัตว์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ จำนวนแห่งละหนึ่งคน และแต่งตั้งผู้รับผิดชอบช่องทางเข้าออกประจำด่าน จำนวนแห่งละหนึ่งคน
การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
พนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี และรายงานข้อมูลนั้นให้กรมควบคุมโรคทราบโดยเร็ว
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
เมื่อเกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่ใด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้นมีอำนาจที่จะดำเนินการเอง
เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา ๔๖
ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจำตัวสำหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดงตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมกำรยำ
การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้แทนสมาคมหรือผู้ประกอบกำรที่มีวัตถุประสงค์ในการผลิตยำ กำรขายยากำรนำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
กระบวนการพิจารณาอนุญาตยา
คณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุของค์กรผู้เชี่ยวชำญ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
กำรผลิตยาซึ่งผลิตโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน้าที่ป้องกันหรือบำบัดโรค
ใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรมหรือของผู้ประกอบโรคศิลปะ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
อนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง เป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๓๘ มากกว่าจำนวนที่กำหนดในวรรคหนึ่งได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง
หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ
ควบคุมการผลืิต
ฉลากเเละเอกสาร
ควบคุมการขาย บรรจุยา
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์จิตประสาท
ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑
เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
การผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์
เกินปริมาณที่กำหนดในกฎกระทรวง ให้สันนิษฐานว่าผลิต นำเข้าหรือส่งออกเพื่อขาย
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ขายเฉพาะสำหรับคนไข้ที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมให้การรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลหรือสถานพยาบาลของรัฐ
การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
จดแจ้งประสงค์จะขอต่ออายุใบรับจดแจ้ง ให้ยื่นคำขอก่อนวันที่ใบรับจดแจ้งสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคำขอและชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุพร้อมกับการยื่นคำขอแล้ว ให้ใบรับจดแจ้งนั้นใช้ได้ต่อไปจนกว่าผู้รับจดแจ้งจะสั่งไม่ให้ต่ออายุใบรับจดแจ้ง
การโฆษณา
ไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค
หรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
ฉลากเครื่องสำอาง
ข้อความที่ตรงต่อความจริง
ไม่มีข้อความที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
การควบคุมเครื่องสำอาง
ต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านตรวจสอบเครื่องสำอาง
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมายดังกล่าวภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งจากคณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมกาให้คณะกรรมการเฉพาะเรื่องหรือคณะกรรมการเสนอเรื่องให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาออกคำสั่งตา
การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
กำหนดฉลากของสินค้านั้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภคในการที่จะทราบข้อเท็จจริงในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้านั้น
สิทธิผู้ป่วย
ปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษา
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย
จะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความจำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง
ผู้ป่วยคดี
ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลกำหนดวิธีการ เพื่อป้องกันการ
หลบหนีหรือเพื่อป้องกันอันตราย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ไม่มีผู้รับดูแลให้แจ้งหน่วยงานด้านสงเคราะห์และสวัสดิการ