Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Learning Theory - Coggle Diagram
Learning Theory
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และสามารถจะสังเกตได้
พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง
แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทำให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม (Constructivism)
การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสำคัญต่อการเรียนรู้
ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)
ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียนเป็นแรงจูงใจให้เกิดการสร้างสรรค์ความรู้
การเรียนรู้เป็นทีมจะดีกว่าการเรียนรู้คนเดียว
เริ่มที่ผู้เรียนต้องอยากจะรู้ อยากจะเรียน จึงจะเป็นตัวเร่งให้เขาขับเคลื่อน
เป็นการเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ไม่ใช่การสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism)
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory)
พัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัย
มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ
การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจที่จะกระทำให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)
การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์
บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
ทฤษฎีภาระการทำงานทางปัญญา (Cognitive Load Theory)
ภาระของระบบความจำในช่วงที่ทำงานอยู่หรือช่วงสั้นอาจจะ
ถูกกระทบโดยปัจจัยภายในของงานที่เรียนรู้เอง
ความจำระยะยาวจึงไม่มีปัญหาใน
เรื่องของขีดจำกัดในการเก็บจำ
เมื่อมีการรับข้อมูลใหม่ๆทําให้ระบบความจําในช่วงที่ทำงานอยู่หรือช่วงสั้นมีการเก็บความจําที่จํากัด
ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectivism)
การเรียนรู้อาจมิใช่รูปแบบปกตินิยมที่มนุษย์จะใช้กันแบบทั่วๆไปก็เป็นได้
ประสิทธิภาพของการสร้างองค์ความรู้นั้น เกิดจากความรู้ที่ได้มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
การเรียนรู้เป็นกระบวนการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลหรือคลังความรู้ที่หลากหลาย
การเรียนรู้และองค์ความรู้เกิดจากพลังทางความคิดของมนุษย์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง
การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated)
การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นในสภาพจริง
ต้องเหมาะสมหรือสะท้อน บริบทของสภาพจริง
นำไปสู่การเชื่อมโยงความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน