Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม,…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO (ABO Incompatibility)
ความหมาย
คือเกิดการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง เนื่องจากในขณะตั้งครรภ์หมู่เลือด ABO ของมารดาและทารกเข้ากันไม่ได้
เป็นภาวะที่มักจะเกิดขึ้นในการตั้งครรภ์ใดก็ได
ทารกแรกเกิดมักมีอาการของโรคอยู่ในระดับปานกลาง ไม่มีอาการรุนแรง
สาเหตุ
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดา
มักจะเกิดในคนผิวด า (Black)
ทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
พยาธิสภาพ
มารดาหมู่เลือด O มักจะมี anti-A และ anti-B ชนิด IgG บ่อยกว่ามารดาหมู่ เลือด A หรือ B
ทารกหมู่เลือด A1 B มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกอย่างรุนแรงหลังคลอดจากมารดาหมู่เลือด B
ชนิดของ IgG นั้นมีความส าคัญต่อการเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในทารก เฉพาะ IgG1 และ IgG3 เท่านั้นที่สามารถจับกับ Fc-receptor ของเซลล์ฟาโกไซต์แล้วกระตุ้นการท าลายเม็ดเลือดแดงได้
ระหว่างการตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงของทารกจะผ่านเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
ซึ่งหากเป็นหมู่เลือด A จะมี antigen A บนเม็ดเลือดแดงของลูก ไปกระตุ้นให้มารดาสร้าง antibody ท าให้มี antibody มาก และส่วนใหญ่จะเป็น IgG ซึ่งสามารถผ่านรกเข้าสู่กระแสเลือดของทารก
จากนั้นจะทำปฏิกิริยากับเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ทารกแรกเกิดมีภาวะซีด บวม และตัวเหลือง จนอาจเสียชีวิตได้ภายหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
ทารกมักจะไม่รุนแรง
พบอาการตัวเหลือง ภายใน 24ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อาจพบตับโต
หากไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ kernicterus
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกที่รอดชีวิตมักเกิด
mental retard
develop paralysisor nerve deafness
ทารกที่เกิดภาวะ kernicterus จะเสียชีวิตประมาณ 75%
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัต
ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดที่
ผ่านมา
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก
3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
ความหมาย
หมู่เลือดที่มีความส าคัญถูกก าหนดโดยสารแอนติเจนที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงคือสารดี (D antigen)
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในทารกที่มีสาเหตุจาก anti-D
ทารกมักมีอาการรุนแรงกว่าภาวะเม็ดเลือดแดงแตก จากหมู่เลือดระบบอื่นๆ
พยาธิสภาพ
Rh Isoimmunization จะเกิดขึ้นเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive
ขณะตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา ท าให้เกิดการสร้าง antibodies
ในแม่ซึ่ง antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies จะไปจับและทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก ทำให้ทารกมีภาวะโลหิตจาง
ทำให้ระดับของ bilirubin สูงขึ้นอาจถึงระดับที่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ คือมีถึง 180 mg.% ในทารกแรกเกิดที่คลอดครบกำหนด
ทำให้เกิดภาวะ Kernicterus คือมี bilirubin ในกระแสเลือดสูงมาก ทำให้มีการเกาะกับ Nucleus ของ cell สมองทำให้มีอาการทางระบบประสาทเกิดขึ้น
สาเหตุ
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antigen
อาการและอาการแสดง
หากทารกมีhemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมาก
อาจเกิดหัวใจวาย ตัวบวมน ้าที่hydrops fetalis และอาจเสียชีวิตในครรภ์ได้
ในรายที่ไม่ตายคลอดก็จะมีปัญหาซีดมากหรือเหลืองมากจนเสียชีวิตหรือเกิด bilirubin toxicity ได้ หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องทันทีในระยะหลังคลอด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
มักพบผลกระทบต่อทารกในการตั้งครรภ์ที่ 2
ทำให้ทารกเกิดภาวะ
hydrops fetalis
ตับและม้ามโต
neonatal anemia
hyperbilirubinemia
kernicterus, dead fetus in uterus
still birth
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization(Rh Isoimmunization)
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ
การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ
ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห
ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ความหมาย
เป็นโรคผิดปกติทางพันธุกรรมของเม็ดเลือดที่พบบ่อยมากที่สุดในประเทศไทย
ในเม็ดเลือดแดงมีองค์ประกอบหลักที่ส าคัญคือ Hb ซึ่งมีโครงสร้างโมเลกุลที่ประกอบด้วย heameและ globin
heme มีองค์ประกอบที่ส าคัญคือ ธาตุเหล็ก และ porphyrin
สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
ความผิดปกติทางปริมาณ
อาการและการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major)
ทารกจะมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ
มีการเจริญเติบโตช้า ตับม้ามโต และมักเสียชีวิตตั้งแต่เด็ก
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate)
ซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor)
กลุ่ม homozygous Hb
E, homozygous Hb CS โดยจะไม่มีอาการแสดง แต่อาจมีฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
พยาธิสภาพ
เมื่อมีความผิดปกติของยีนทำให้การสังเคราะห์ α-globin และ β-globin ลดน้อยลงหรือไม่สร้างเลย จะทำให้ globin ที่เหลืออยู่รวมตัวกันเองแล้วตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด ทำให้เลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ ขาดความยืดหยุ่นผนังของเม็ดเลือดแดงถูกทำลายง่าย ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการซีด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับม้ามโต ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงทดแทนตลอดเวลาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะกระดูก
การพยาบาล
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง
ควรแนะนำ
เกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด
ให้สตรีตั้งครรภ์และสามีตัดสินใจว่าจะ
ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อไปหรือยุติการตั้งครรภ
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ลักษณะของการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความแตกต่างระหว่างเป็นโรคและเป็นพาหะ อาการและอาการแสดงของโรค
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และ
ครอบครัว
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะแทรกซ้อน
คลอดยาก
เนื่องจากทารกมีท้องบวมโต และอาจตกเลือดหลังคลอด
เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
ผลต่อทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ส่งผลให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือขาด
ออกซิเจนในระยะคลอด
นางสาวสุธิตา ปู่คำ 6101211085 SecB 46