Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การป้องกันการบาดเจ็บและการดูแลช่วยเหลือผู้รับบริการฉุกเฉิน :<3:…
บทที่ 9 การป้องกันการบาดเจ็บและการดูแลช่วยเหลือผู้รับบริการฉุกเฉิน :<3:
9.4 หลักการเตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกฉิน
9.5 การปฐมพยาบาล การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นในภาวะอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ประเมินอาการเพื่อคัดกรองผู้ป่วย(Primary Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างรวดเร็ว
สัมพันธ์กับอาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
อาการสำคัญที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย
วิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้
เพื่อจัดระดับความรุนแรงของภาวะความเจ็บป่วยของผู้ป่วยแต่ละราย(Patient’s Acuity) ตามมาตรฐานการจำแนก
วินิจฉัยและวางแผนให้การรักษาพยาบาล
บนพื้นฐานข้อมูลที่รวบรวมได้ ตามแนวปฏิบัติของหน่วยงาน
ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นในภาวะวิกฤตที่เป็นอันตราย
เสี่ยงต่อการเสียชีวิตตามแนวปฏิบัติของหน่วยงาน
รายงาน/ให้ข้อมูลแพทย์ตามขั้นตอนการปฏิบัติของหน่วยงาน
เพื่อประโยชน์ในการกำหนดวิธีการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย
บันทึกข้อมูลการคัดกรองเบื้องต้นที่สำคัญ
อาการและอาการแสดงที่สำคัญเมื่อแรกรับ
ระดับความรุนแรงของภาวะความเจ็บป่วย (Acuity Level)
สัญญาณชีพ
ระดับความรู้สึกตัว หรือสัญญาณทางระบบประสาท(Neurological Sign)
9.3 การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การคัดกรองผู้ป่วยด้วยระบบ Emergency Severity Index (ESI)
ใส่รูป 3 หน้า ตาราง
9.6 การช่วยฟื้นคืนชีพ : Basic Life Support
การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด ที่หยุดทำงานอย่างกระทันหัน
เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติ โดยไม่เกิดความพิการของสมอง
วัตถุประสงค์ของการช่วยฟื้นคืนชีพ
เพิ่มออกซิเจนให้กับร่างกายและเนื้อเยื่อ
ป้องกันสมองตายโดยการทำให้โลหิตไปเลี้ยงสมองได้เพียงพอ
คงไว้ซึ่งการไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเต้น เพื่อนำออกซิเจนไปสู่สมอง หัวใจและเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ดูแลผู้ป่วยให้กลับสู่สภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจ กลับมาเต้นใหม่แล้ว
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Guidelines American Heart Association
The Heart Association of Thailand
Thai Resuscitation Council
วิวัฒนาการ
Guidelines 2010
CAB
Guidelines 2015
CAB +AED
Guidelines 2005
A BC
ห่วงโซ่ของการรอดชีวิต(Chain of survival)
ใส่รูปเด้อ
การช่วยเหลือนั้น ต้องเริ่มต้นด้วย”คนแรก” ที่พบผู้หมดสติ
CPR : 2015
เน้นเรื่องคุณภาพการช่วยชีวิตเป็นอย่างมาก( Quality CPR )ด้วย 4 คำ
Depth
การปั๊มในแต่ละครั้ง เปลี่ยนจากการปั๊มให้ลึกอย่างน้อย 5 ซม.(2 นิ้ว )
ปั๊มให้ลึกอย่างน้อย 5 ซม.แต่ไม่ควรลึกเกิน 6 ซม.( 2.4 นิ้ว )
Recoil
ต้องไม่พักมือหรือปล่อยน้ำหนักไว้บนหน้าอกผู้บาดเจ็บก่อนการปั๊มในครั้งต่อไป ต้องปล่อยให้หน้าอกยกตัวขึ้นสุดก่อนกดในครั้งต่อไปนั้นเอง
Rate
อัตราการปั๊มหัวใจ เปลี่ยนจากอย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที่ เปลี่ยนเป็นปั๊มอย่างน้อย
เปลี่ยนเป็นปั๊มอย่างน้อย100 แต่ไม่ควรเกิน 120 ครั้งต่อนาที
Position
ตำแหน่งในการวางมือของการปั๊มต้องวางมือตรงส่วนล่างของกระดูกหน้าอก( lower half of sternum bone )
ขั้นตอน CPR : 2015
ก่อนเข้าช่วยเหลือ
ต้องประเมินสถานการณ์ความปลอดภัย ก่อนเสมอ
ประเมินความรู้สึกตัวของผู้บาดเจ็บ
พบว่าหมดสติให้ร้องขอความช่วยเหลือจากบุคคลข้างเคียง
โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือ 1669
หากมีเครื่อง AED อยู่ใกล้ให้วิ่งไปหยิบมาก่อน หรือวานใหบุคคลใกล้เคียงไปหยิบมา
ทำการเช็คการหายใจและชีพจร
ภายในเวลา 10วินาที
หากพบว่าหยุดหายใจ หรือมีภาวะหายใจเฮือก( gasping ) ให้เริ่มกระบวนช่วยฟื้นคืนชีพทันที
เริ่มจากการปั๊มหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง
ทำ ต่อเนื่องจนกว่าจะมีมีทีมEMS หรือเครื่องช็อกไฟฟ้ามาถึง
หากมีเครื่องช็อกไฟฟ้ามาถึง ให้รีบเปิดระบบใช้งานทันที
ปล่อยให้เครื่องช็อคไฟฟ้าวิเคราะห์คลื่นหัวใจ
หากพบว่าเป็นคลื่นไฟฟ้าที่สามารถช็อกได้ให้ทำการกดช็อกทันที
ทำการ CPR ต่อจนครบ 2 นาทีหยุดให้เครื่องช็อกไฟฟ้าอีกครั้ง
กรณีที่เครื่องช็อคไฟฟ้าไม่พบคลื่นที่สามารถช็อกได้
ทำการ CPR ต่อจนครบ 2 นาที
แล้วจึงหยุดให้เครื่องวิเคราะห์คลื่นหัวใจอีกครั้ง
ทำการ CPR อย่างต่อเนื่องจนกว่าทีม EMS จะมาถึง
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นต้น(BLS)
A-Airway = การเปิดทางเดินหายใจ
B-Breathing = การช่วยหายใจ
C-Compression = การนวดหัวใจ
การประเมิน
การเปิดทางเดินหายใจ(Airway)
เป็นการแก้ไขภาวะทางเดินหายใจปิดกั้น
กดศีรษะ เชยคาง Head tilt chin lift
การดึงขากรรไกร Jaw thrust
การช่วยหายใจ(Breathing)
การช่วยหายใจโดยการเป่าปากแบบปากประกบปาก
นวดหัวใจ 30 ครั้ง / เป่าปาก 2 ครั้ง
การประเมินผู้ป่วยหมดสติ
สิ่งแวดล้อม
สาเหตุ
ศีรษะกระแทกของแข็ง
สำลักอาหาร
จมน้ำ
ตกจากที่สูง
อุบัติเหตุจราจร
ข้อควรระวัง
คอ
การสำลัก ใช้ heimlic maneuver
ไม่หายใจ หายใจผิดปกติ หัวใจหยุดเต้น
โรคประจำตัว
โรคหัวใจ
ระวังการช่วยผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ตกจากที่สูง
Hard Cervical coller
9.2 การจัดบริการในหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉิน
บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อ การดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ
จำเป็นต้อง ได้รับการประเมิน การจัดการ และการบำบัดรักษา อย่างทันท่วงที
เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรืออาการรุนแรงขึ้น ของการบาดเจ็บหรืออาการป่วยนั้น
จุดคัดกรอง (Screening area)
ห้องตรวจฉุกเฉินและหัตถการ (Treatment room)
ห้องสังเกตอาการ (Observation room)
ห้องผู้ป่วยวิกฤต (Resuscitation room)
ศูนย์ประสานงานการส่งต่อและให้คำปรึกษา (ER Call Center)
การพยาบาลสาธารณภัย Disaster
Disaster
ความหมาย
พิบัติภัย ,ภัยพิบัติ,สาธารณภัย,วินาศภัย
WHO :Disaster
ปรากฏการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย
กระทบต่อระบบนิเวศ
มีผลต่อการสูญเสียชีวิต หรือทำลายสุขภาพและการบริการทางสุขภาพ
ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากภายนอกชุมชน
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
สาธารณภัย ( Disaster ) เป็นภัยที่เกิดกับคนหมู่มาก เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม
ภัยที่ร้ายแรง และทำให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน และรัฐเป็นจำนวนมากเป็นภยันตรายที่รุนแรงและกว้างขวาง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระทำของมนุษย์
Limited disaster
เครื่องบินตก
Generalized disaster
แผ่นดินไหว
พายุ
น้ำท่วม
ระเบิดนิวเคลียร์
เป็นสภาวะที่ระบบการทำงานของชุมชนหรือสังคม ถูกรบกวน ได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง
ก่อให้เกิดการสูญเสีย
ทรัพย์สิน
เศรษฐกิจ
เสียชีวิต
สิ่งแวดล้อม
เกิดผลกระทบอย่างมาก
เกินกำลังความสามารถของชุมชน
สังคมที่เกิดพิบัติภัยจะจัดการได้โดยใช้ทรัพยากรของตนเองที่มีอยู่
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือ อุบัติเหตุหมู่
Multiple-patient incident
มีผู้บาดเจ็บ มากกว่า 10 คน
โรงพยาบาลเพียง1แห่งสามารถรับได้
พบได้บ่อย
Multiple-casualt incident
มีผู้บาดเจ็บ ไมเกิน100 คน
ต้องการโรงพยาบาล 1 หรือมากกวา 1 แห่ง
พบได้ไม่บ่อยนัก
สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ได้แก่ อุบัติเหตุการจราจรที่รุนแรง อุทกภัย ทอร์นาโด เฮอริเคน พายุหิมะ ไฟไหม้
Mass casualty incident
มีผู้บาดเจ็บ ตั้งแต่100 คนขึ้นไป
ต้องพึ่งพาหลายโรงพยาบาล
พบน้อย
แผ่นดินไหว ตึกถล่ม สึนามิ กัมมันตภาพรังสี
สาธารณภัยแบ่งตามการจัดการรับมือ
ความรุนแรงระดับ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไป
หรือมีขนาดเล็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถควบคุมสถานการณ์ และจัดการระงับภัยได้โดยลำพัง
ความรุนแรงระดับ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง
ต้องอาศัยหลายส่วนราชการภายในเขตจังหวัดหรือจังหวัดใกล้เคียงและระดับเขต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้
ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขระดับเขต
เข้าควบคุมสถานการณ์และระดมทรัพยากรจากจังหวัดภายในเขตเข้าจัดการระงับภัย
ความรุนแรงระดับ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ่
มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง
สาธารณภัยที่จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ต้องระดมความช่วยเหลือจากทุกส่วนราชการ ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในระดับประเทศ
ประเภท Disaster
ภัยธรรมชาติ
อุทกภัย
แผ่นดินถล่ม
แผ่นดินไหว
ภูเขาไฟระเบิด (Volcano)
คลื่นยักษ์(TSUNAMI)
วาตภัย
ภัยแล้ง
ไฟป่า
อากาศหนาวจัด
ภัยจากน้ำมือมนุษย์
• อุบัติภัยจากการคมนาคมขนส่ง
• อาคารถล่ม
• อัคคีภัย
• ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย
• SARS
• AIDS
• ไข้หวัดนก
• ภัยจากทุ่นระเบิดสังหาร/วัตถุ
ระเบิด
• ภัยจากการก่อการร้าย
วงจรของการเกิดสาธารณภัย (Disaster cycle)
ช่วงเวลาเกิดสาธารณภัย (Impact phase)
ช่วงเวลาหลังเกิดสาธารณภัย (Post impact phase)
ช่วงเวลาก่อนเกิดสาธารณภัย (Pre impact phase)
ขั้นตอนการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
การดำเนินการก่อนเกิดภัย
เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย
การดำเนินการระหว่างเกิดภัย
•การดำเนินการในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยระดมทรัพยากรที่มีอยู่ เข้าช่วยเหลือผู้ระสบภัย
การดำเนินการหลังจากภัยผ่านพ้นไป
เป็นการฟื้นฟูกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนและของรัฐให้กลับคืนภาวะปกติ
การรับมือสาธารณภัย
การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สาธารณภัย
.ช่วงเวลาก่อนเกิดสาธารณภัย(Pre impact phase)
การวางแผนบริหารจัดการทางการแพทย์
เตรียมอุปกรณ์
การฝึกอบรมบุคลากร
ช่วงเวลาเกิดสาธารณภัย (Impact phase)
การวิเคราะห์สาเหตุและความรุนแรงที่เกิดขึ้น
M: Major incident ควรจะประกาศสถานการณ์หรือไม่
E: Exact location จุดพิกัดที่เกิดเหตุ
T: Type of incident ประเภท และลักษณะของเหตุการณ์
H: Hazards มีความเสี่ยงหรืออันตรายคงอยู่หรือไม่ เช่น สารเคมี
A: Access การเดินทางเข้าถึงจุดที่เกิดเหตุ
N: Number of casualties จำนวนและความรุนแรงของผู้ประสบเหตุ
E: Emergency service กำลังพลที่ขอรับการสนับสนุน
การแบ่งพื้นที่ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การคัดแยก: Triage
การคัดแยกผู้ป่วยเมื่อมีผู้ป่วยจำนวนมากแล้วเครื่องมือหรือมีผู้ดูแลไม่เพียงพอที่จะให้การรักษาผู้ป่วยได้ทั้งหมด
การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สาธารณภัย
ช่วงเวลาเกิดสาธารณภัย (Impact phase)
การคัดกรอง (Triage)
ครั้งแรก ทำที่จุดเกิดเหตุ เรียกว่า triage sieve
ครั้งที่ 2 ทำที่จุดรักษาพยาบาล เรียกว่า triage sort
Triage aims
เพื่อเคลื่อนย้ายผู้ป่วยถูกคน “Right patient”
ไปยังที่ที่เหมาะสม “Right place”
ได้ถูกเวลา “Right time”
การคัดกรองที่ดี
‘START’ ( Simple Triage and rapidTreatment )คัดกรองอย่างง่ายแล้วรีบช่วยเหลือ
Triage system
START system : U.S.A
Deceased, immediate, delayed, minor
MASS triage : U.S.A
Immediate, delayed, minimal, expectant
Advanced triage
5 categories
โดยทั่วไปเราทำ triage ที่ไหน?
Primary triage ( Triage sieve )
ที่เกิดเหตุ (At the scene)
โดยหัวหน้าทีม Ambulance
Secondary triage ( Triage sort )
ที่พื้นที่รักษาพยาบาล
โดยแพทย์ หรือพยาบาล
การลำดับความเร่งด่วนในการคัดแยก
เร่งด่วนสูงสุด ต้องได้รับการกู้ชีพและแก้ปัญหา
เร่งด่วนปานกลาง เช่น กระดูกหักแบบปิด
เร่งด่วนเล็กน้อย รอได้ เช่น ข้อเท้าแพลง แผลถลอก
เร่งด่วนต่ำสุด --> ตาย
1 more item...
นำมาสู่พื้นที่ปลอดภัย
เตรียมพื้นที่
ปักธงสี -> แดง เหลือง เขียว ดำ
มีผู้อำนวยการ
กลุ่มเดินได้ ห้ามเลือด ทำแผล เฝือกชั่วคราว ให้กำลังใจ
กลุ่มนอนมา สติดี -> จัดท่า ให้อยู่นิ่ง ,สติไม่ดี-> BLS ACLS
การช่วยเหลือ ณ.จุดเกิดเหต
On Scene Care
ระยะเวลาที่จุดเกิดเหตุ ขึ้นกับ
ความรุนแรงของการเจ็บป่วย
ความสามารถของทีมกู้ชีพ
*การประเมินสถานการณ์แวดล้อม
“ไม่ปลอดภัยไม่เข้าให้การช่วยเหลือ”
การประเมินสภาพ
การช่วยเหลือตามความเหมาะสมเกิดความปลอดภัย
การเคลื่อนย้ายนำส่งสถานพยาบาล
การลำเลียงจากจุดเกิดเหตุและการดูแลระหว่างนำส่ง Care in Transit
การใช้อุปกรณ์เคลื่อนย้ายที่เหมาะสม
ผู้ใช้อุปกรณ์มีความชำนาญ นำผู้ป่วยฉุกเฉินออกจากจุดเกิดเหตุ อย่างปลอดภัย
การดูแลรักษาระหว่างนำส่งอย่างเหมาะสมจนถึงสถานพยาบาล
การช่วยเหลือ
การช่วยเหลือ ณ.จุดเกิดเหตุ
-ประเมินขั้นต้น ประเมินความรู้สึกตัว และ ABCประเมินสัญญาณชีพ ตรวจดูศีรษะจรดเท้า
กรณีเป็นลม หมดสติ จำแนกว่าเป็นประเภทใด
กรณีกระดูกหัก เผือกชั่วคราว
ถ้ามีแผลต้องปิดแผลก่อน การห้ามเลือดที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย
• วางแผนและเตรียมความพร้อม สถานที่และยานพาหนะ
•ประเมินสภาพแวดล้อมก่อนเคลื่อนย้าย
•ประเมินอาการขั้นต้น เพื่อเลือกวิธีเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม
•กรณีมีกระดูกหัก ควรปฐมพยาบาลก่อน
•กรณีมีบาดแผลเปิด ควรปิดด้วยผ้าสะอาดและห้ามเลือดก่อน
•กรณีเคลื่อนย้ายโดยมีผู้ช่วยเหลือหลายคน ต้องมีหนึ่งคนที่ออกคำสั่ง เพื่อประสานงาน
•เคลื่อนย้ายด้วยความนุ่มนวล
•เคลื่อนย้ายด้วยวิธีการที่เหมาะสม
การนำส่งสถานพยาบาล
สถานพยาบาลที่มีความเหมาะสม
ขีดความสามารถในการรักษา
ความพร้อมในการดูแล
ระยะเวลานำส่ง
สิทธิการรักษา
ความต้องการของผู้ป่วย
การจำแนกผู้ประสบภัย
เพื่อเลือกการให้การช่วยเหลือ ตามลำดับความสำคัญ “Greatest good for the greatest
ช่วงเวลาหลังเกิดสาธารณภัย (Post impact phase)
การให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูบูรณะขั้นต้น
การให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูบูรณะอย่างต่อเนื่อง
บทบาทของพยาบาล
ในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ประสบภัย
การฟื้นฟูด้านจิตใจ ให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าของการมีชีวิตอยู่
และมั่นใจว่าจะใช้ชีวิตได้เหมือนคนปกติ
การฟื้นฟูด้านร่างกาย
หาสิ่งสนับสนุน อาจเป็นอุปกรณ์หรือบุคคล
แนะนำแหล่งประโยชน์ที่จะช่วยให้การฟื้นฟูเป็นไปได้อย่างราบรื่นและได้ผลสมบูรณ์ ทั้งทางการให้ข้อมูล ด้านทุนทรัพย์และอื่นๆ
จัดทำแผน
หาความเสี่ยง
.ช่วงเวลาก่อนเกิดสาธารณภัย(Pre impact phase)
การวางแผนบริหารจัดการทางการแพทย์
เตรียมอุปกรณ์
การฝึกอบรมบุคลากร
9.1 การป้องกันการบาดเจ็บและการดูแล ช่วยเหลือผู้รับบริการฉุกเฉิน
9.1 การป้องกันการบาดเจ็บและการดูแล ช่วยเหลือผู้รับบริการฉุกเฉิน
การช่วยเหลือ โดยไม่ให้ ผู้บาดเจ็บ ได้รับการบาดเจ็บ เพิ่ม