Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พระราชบัญญัติ - Coggle Diagram
บทที่ 5
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
หมวด ๑/๑
กระบวนกำรพิจารณาอนุญาตยา
มาตรา ๑๑/๑๑ ให้มีผู้เชี่ยวชาญองค์กรผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเอกชนทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ ทำหน้าที่ใน
การประเมินเอกสารทางวิชาการ
มาตรา ๑๑/๔๑ การรับเงินและกำรเก็บรักษาเงินให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกำศกำหนดโดยควำมเห็นชอบของกระทรวงกำรคลัง
มาตรา ๑๑/๓ เงินค้ำขึ้นบัญชีที่จัดเก็บได้ตามมาตรา ๑๑/๒ (๒) ให้เป็นของ
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
หมวด ๒
การขออนุญำตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๒ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยำแผนปัจจุบันเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๑๔๒๒ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือสั่งเข้ำมาในราชอาณจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันได้ เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาต
เป็นเจ้าของกิจการและเป็นผู้มีทรัพย์สิน
มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
ถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
มาตรา ๑๖ ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา ๑๕ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญาตด้วย
มาตรา ๑๘ ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสำมสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับหนังสือของผู้อนุญาตแจ้งการไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
หมวด ๓
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยำแผนปัจจุบัน
มาตรา ๒๐ ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งอย่ำงน้อยสองคนเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๓๘
มาตรา ๒๑ ผู้รับอนุญาตขายส่งยาแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง เป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๔๐ ทวิ ประจำอยู่ ณ สถานที่ขายส่งยาแผนปัจจุบันหรือสถานที่เก็บยาตลอดเวลำที่เปิดทำการ
มาตรา ๒๖ ให้ผู้รับอนุญาตขายส่งยำแผนปัจจุบันปฏิบัต โดยอนุโลม เว้นแต่ไม่ต้องจัดให้มีที่เป็นส่วนสัดสำหรับปรุงยาตาม
มาตรา ๒๘ ในกรณีใบอนุญาตสูญหำยหรือถูกทำลายในสำระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาต แจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้ำวันนับแต่วันที่ได้ทรำบถึงกำรสูญหายหรือถูกทำลายดังกล่าว
มาตรา ๓๒ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตขายยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษในระหว่างที่เภสัชกรหรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ไม่อยู่ปฏิบัติหน้ำที
หมวด ๔
หน้ำที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
มาตรา ๓๘ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งตำมมำตรำ ๒๐ ประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตยา ตลอดเวลำที่เปิดทำการ และให้มีหน้าที่ปฏิบัติ
ควบคุมกำรผลิตยำให้เป็นไปโดยถูกต้องตามตำรับยำที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตำมมาตรา ๗๙
ควบคุมการขายยาให้เป็นไปตามมาตรา ๓๙
การอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๐ ให้เภสัชกรชั้นสองตำมมำตรำ ๒๑ ปฏิบัติตำมมำตรำ ๓๙ เช่นเดียวกับเภสัชกรชั้นหนึ่ง เว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับกำรปรุง กำรขำยและกำรส่งมอบยำควบคุมพิเศษจะกระทำมิได
หมวด ๕
การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยำแผนโบราณ
มาตรา ๔๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขำย หรือนำหรือสั่งเข้ามำในราชอาณาจักร ซึ่งยำแผนโบราณ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๕๐ ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา ๔๙ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญำตด้วย
มาตรา ๕๒ ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญำต ผู้ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออำยุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของผู้อนุญาตแจ้งการไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
หมวด ๖
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยำแผนโบราณ
มาตรา ๕๓ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตผลิตหรือขายยาแผนโบราณนอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญำต เว้นแต่เป็นกำรขายส่ง
มาตรา ๕๔ ผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติตามมาตรา ๖๘ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๕๕ ผู้รับอนุญาตขายยาแผนโบราณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๖๙ ประจำอยู่ตลอดเวลาที่เปิดทำการ
มาตรา ๖๒ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตย้ายสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา สถานที่นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรหรือสถานที่เก็บยำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด ๗
หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
มาตรา ๖๙ ให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณตามมาตรา ๕๕ ประจำอยู่ ณ สถานที่ขายยาตลอดเวลาที่เปิดทำกำร
มาตรา ๗๑ ห้ามมิให้ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณปฏิบัติหน้ำที่ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการในสถานที่ผลิตยา สถำนที่ขายยา หรือสถานที่นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรโดยตน มิได้มีชื่อเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติกำรในสถำนที่นั้น
หมวด ๘
ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
มาตรา ๗๕ ห้ามมิให้ผู้ใดขายยาบรรจุเสร็จหลายขนานโดยจัดเป็นชุดในคราวเดียวกัน โดยมีเจตนำให้ผู้ซื้อใช้รวมกันเพื่อบำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรืออาการของโรคใดโรคหนึ่งโดยเฉพาะ
มาตรา ๗๒๗๐ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต
ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ำมาในราชอาณาจักรซึ่งยาต่อไปนี้
ยาปลอม
ยาผิดมาตรฐาน
ยาที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนตำรับยา
หมวด ๙
การประกาศเกี่ยวกับยา
มาตรา ๗๗ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจำนุเบกษำระบุโรคหรืออำกำรของโรคที่ห้ามโฆษณายาว่าสามารถใช้บำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคหรืออาการของโรคนั้นได
มาตรา ๗๗ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมยาที่นำหรือสั่งเข้ำมาในราชอาณาจักรรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจำนุเบกษากำหนดด่านนำเข้าได้
มาตรา ๗๘ ประกาศของรัฐมนตรีตามหมวดนี้ ให้กระทำได้เมื่อได้รับคำแนะนำจำกคณะกรรมการ
หมวด ๑๐
การขึ้นทะเบียนตำรับยา
มาตรา ๘๑ การแก้รายการทะเบียนตำรับยา จะกระทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๘๔ บทบัญญัติมาตรา ๘๓ ให้ใช้บังคับแก่การแก้รายการทะเบียนตามตำรับยาโดยอนุโลม
หมวด ๑๑
การโฆษณา
มาตรา ๘๘ การโฆษณาขายยาทางวิทยุกระจำยเสียง เครื่องขยายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ ทางฉายภาพหรือภาพยนตร์ หรือทางสิ่งพิมพ์จะต้องได้รับอนุมัติข้อความ เสียง หรือภำพที่ใช้ในการโฆษณาจากผู้อนุญาต
มาตรา ๘๙ ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยไม่สุภาพ หรือโดยการร้องรำทำเพลง หรือแสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
มาตรา ๙๐ ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพกหรือออกสลากรางวัล
มาตรา ๙๐ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา มีอำนาจสั่งเป็นหนังสือให้ระงับการโฆษณาขายยาที่เห็นว่าเป็นการโฆษณาโดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้ได้
หมวด ๑๒
พนักงานเจ้ำหน้าที่
มาตรา ๙๒ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวเมื่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องร้องขอ
มาตรา ๙๓ ยารวมทั้งภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยำและเอกสำรที่ได้ยึดไว้ตามมาตรา ๙๑ ถ้ำไม่ปรำกฏเจ้ำของ หรือพนักงำนอัยกำรสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
มาตรา ๙๔ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงำนตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๑๓
การพักใช้ใบอนุญำตและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๙๗ คำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ทำเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับอนุญาตทราบและในกรณีไม่พบตัวผู้ถูกสั่งหรือผู้ถูกสั่งไม่ยอมรับคำสั่งดังกล่าวให้ปิดคำสั่ง
มาตรา ๙๙ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคำสั่ง
มาตรา ๙๘ ผู้อนุญาตโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งถอนคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนดเวลาได้
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
หมวด ๑
คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาตรา ๑๑ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
หมวด ๒
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๑๔ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณีจําเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
มาตรา ๑๖ ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๒๖ ให้ผู้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยยาอีก
หมวด ๓
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๗ ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใด ผลิต ขาย นําเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทนอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๒๘ ผู้อนุญาตอาจออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา ๔๐ ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ให้ผู้รับอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อผู้อนุญาตภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย
ถูกทําลายดังกล่าว
หมวด ๔
หน้าที่ของเภสัชกร
มาตรา ๔๘ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์
มาตรา ๕๖ ในกรณีที่เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการไม่ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการนั้นแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่พ้นหน้าที่
หมวด ๕
วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออก
มาตรา ๕๗ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ดังต่อไปนี
วัตถุออกฤทธิ์ปลอม
วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
วัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตํารับ
มาตรา ๕๙ วัตถุออกฤทธิ์ต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน
มาตรา ๖๑ ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปหรือขายวัตถุออกฤทธิ์และยารวมกันหลายขนาน โดยจัดเป็นชุดไว้ล่วงหน้า เพื่อประโยชน์ทางการค้า
หมวด ๖
การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ
มาตรา ๖๒ ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ
ประเภท ๔ จะผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุตํารับที่มีวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าว ต้องขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับนั้น
มาตรา ๖๔ การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้อนุญาต
มาตรา ๖๖ บทบัญญัติมาตรา ๖๕ ให้ใช้บังคับแก่การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับโดยอนุโลม
หมวด ๗
การโฆษณา
มาตรา ๗๑ ในกรณีที่ผู้อนุญาตเห็นว่าการโฆษณาใดฝ่าฝืนมาตรา ๗๐ วรรคสองหรือมีการใช้ข้อความโฆษณาซึ่งไม่เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๗๒ ในกรณีที่ผู้ได้รับคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๗๑ ไม่เห็นด้วยกับคําสั่งดังกล่าวให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558
หมวด ๑
คณะกรรมการเครื่องสําอาง
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๑ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๒ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
หมวด ๒
การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา ๑๔ ผู้ใดประสงค์จะผลิตเพื่อขาย นําเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิต
เครื่องสําอาง ต้องจดแจ้งรายละเอียดของเครื่องสําอางต่อผู้รับจดแจ้ง
มาตรา ๑๕ ใบรับจดแจ้งให้มีอายุสามปีนับแต่วันที่ออกใบรับจดแจ้ง
มาตรา ๑๗ ให้ผู้รับจดแจ้งมีคําสั่งไม่รับจดแจ้งเครื่องสําอางที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด
มาตรา ๑๙ ในกรณีที่ผู้จดแจ้งประสงค์จะขอแก้ไขรายการในใบรับจดแจ้ง ให้ยื่นคําขอต่อผู้รับจดแจ้ง
หมวด ๓
ฉลากเครื่องสําอาง
มาตรา ๒๒ ผู้ผลิตเพื่อขาย ผู้นําเข้าเพื่อขาย และผู้รับจ้างผลิตเครื่องสําอางต้องจัดให้มีฉลาก
มาตรา ๒๓ ในกรณีที่ฉลากใดไม่เป็นไปตามมาตรา ๒๒ เลขาธิการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งให้ผู้จดแจ้งเครื่องสําอางเลิกใช้ฉลากดังกล่าวหรือดําเนินการแก้ไขฉลากนั้นให้ถูกต้อง
หมวด ๔
การควบคุมเครื่องสําอาง
มาตรา ๒๖ ผู้จดแจ้งต้องผลิตหรือนําเข้าเครื่องสําอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
มาตรา ๒๕ เมื่อมีประกาศตามมาตรา ๖ (๙) การนําเข้าเพื่อขายเครื่องสําอาง ต้องผ่านการตรวจสอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ด่านตรวจสอบเครื่องสําอาง
มาตรา ๒๘ เครื่องสําอางที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นเครื่องสําอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้
มาตรา ๒๙ เครื่องสําอางที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ให้ถือว่าเป็นเครื่องสําอางปลอม
หมวด ๕
การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
มาตรา ๓๗ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บริโภค ผู้รับจดแจ้งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอางได
มาตรา ๓๘ คําสั่งเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง ให้ทําเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้จดแจ้งทราบโดยให้ส่งหนังสือแจ้งไปยังสถานที่ที่ระบุไว้ในใบรับจดแจ้ง
หมวด ๖ การโฆษณา
มาตรา ๔๑ การโฆษณาเครื่องสําอางต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
มาตรา ๔๒ การโฆษณาจะต้องไม่กระทําด้วยวิธีการอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือขัดต่อศีลธรรมอันดีงามของประชาชน หรืออันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้บริโภค
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าเครื่องสําอางใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคให้เลขาธิการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้จดแจ้งหรือผู้ทําการโฆษณาดําเนินการ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
หมวด ๑
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๑๓ ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง จะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องมอบหมายก็ได้
มาตรา ๑๖ การประชุมของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องและคณะอนุกรรมการให้นํามาตรา ๑๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
หมวด ๒
การคุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา ๓๖ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค คณะกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้านั้น
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรเข้าดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค หรือเมื่อได้รับคําร้องขอจากผู้บริโภคที่ถูกละเมิดสิทธ
หมวด ๓
การอุทธรณ์
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ได้รับคําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา ๒๗หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ไม่พอใจคําสั่งดังกล่าว ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้
มาตรา ๔๔ การอุทธรณ์ตามมาตรา ๔๓ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการภายในสิบวันนับแต่วันที่ผู้อุทธรณ์ได้รับทราบคําสั่งของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง
คําวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
หมวด ๔ บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการเฉพาะเรื่องตามมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจํา
ทั้งปรับ
มาตรา ๔๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณาซึ่งสั่งตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา ๕๓ ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการว่าด้วยฉลากซึ่งสั่งตามมาตรา ๓๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ