Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารชีวโมเลกุล Blomolecules - Coggle Diagram
สารชีวโมเลกุล
Blomolecules
Carbohydrates
คาร์โบไฮเดรต
Glycogen
ไกลโคเจน
พบในเซลล์สัตว์
แตกแขนงเป็นโมเลกุลขนาดใหญ่
หน่วยย่อย คือ กลูโคส
พันธะรหว่างกลูโคส คือ ไกลโคซิดิกบอลย์
ไกลโคเจนจะเก็บสะสมไว้ที่ตับ
Starch
แป้ง
พบในเซลล์พืช
เก็บในออร์แกเเนลล์ที่มีชื่อว่า
อะไมโลพลาส
อะไมเลส
Amylose
พันธะalpha 1-4
สายโซ่ยาวตรง
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนได้สารสีน้ำเงิน
อะไมโลเพกติน
Amylopectin
แตกแขนง
พันธะalpha 1-4,1-6
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนได้สารสีม่วงแดง
เซลลูโลส
Cellulose
พบได้เฉพาะเซลล์พืช
อยู่ที่ผนังเซลล์พืช
สายยาว ไม่มีการแตกแขนง
พบไกลโคลซิดิกบอลย์ 1-4
มนุษย์ไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้
ไคติน
Chitin
หน่วยย่อย N-acetyl group
พบในเปลือกของแมลง เปลือกหอย กุ้ง กระดองปู เชื้อรา
Disaccharies
Lactose
Glucose + Galactose
Maitose
Glucose + Glucose
Sucrose
Glucose + Fructose
Lipids
ไขมัน
หน่วยย่อย
กลีเซอรอล
Glycerol
กรดไขมัน
Fatty acids
Saturated fatty acids
กรดไขมันอิ่มตัว
น้ำมันที่มี Saturated สูง สามารถใช้ซ้ำได้เพราะเกิดสารประกอบโพลาร์ช้ามาก
น้ำมันปาล์ม
น้ำมันมะพร้าว
Unsaturated fatty acids
กรดไขมันไม่อิ่มตัว
น้ำมันที่มี Unsaturated สูงใช้ซ้ำบ่อยๆจะทำให้เกิดสารประกอบ
โพลาร์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
มีพันธะคู่
Omaga 3,6,9
เป็นกรดไขมันชนิดดี Unsaturated
พบในน้ำมันปลา
Phospholipids
ทำหน้าที่ ควบคุมการเข้า-ออกของสาร
คุณสมบัติ บริเวณด้านหน้าที่เชื่อมติดกับกลีเซอรอลจะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่ทำให้เกิดประจุ
ประจุที่อยู่บริเวณด้านหัวจะ
เรียกว่า Polar head
บริเวณด้านปลายจะไม่มีประจุ
เรียกว่า Nonpolar tails
มี fatty acids 2 โมเลกุลเท่านั้น
Cholesterol
มีลักษณะเป็นวงแหวน
พบเฉพาะในสัตว์เท่านั้น
พบบ้างในพืชอยู่ในส่วนประกอบของเซลล์ membrane ซึ่งจะช่วยเสริมให้เซลล์ membrane แข็งแรง
อากาศร้อน Cholesterol จะถูกสร้างขึ้นและไปเก็บสะสมในเซลล์ membrane เพื่อให้เซลล์ membrane คงรูปอยู่ได้
ร่างกายต้องการ Cholesterol เพื่อเป็นสารตั้งต้นในการสร้างฮอร์โมนเพศ
LDL (low-density lipoprotein) ไขมันไม่ดี ร่างกายต้องการน้อยหากมีมากทำให้หลอดเลือดแดงแข็งตัวเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ
HDL (High-density lipoprotein)ไขมันดี ป้องกันไม่ให้ Cholesterol,LDL สะสมในหลอดเลือด
Nucleic acids
กรดนิวคลีอิก
DNA
(deoxyribonucleic acid)
สายยาวเชื่อมระหว่าง DNA + โครโซมโซม
DNA คือส่วนประกอบของโครโมโซม
โครโมโซม = DNA + โปรตีน
พบในนิวเคลียสมี DNA เป็นเส้นเห็นโครโมโซมเป็นแท่ง
เซลล์สัตว์ พบในนิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย
RNA
(Ribonucleic acid)
ส่วนที่ถอดรหัสจาก DNA เป็น RNA
พบได้หลายๆที่ในเซลล์
RNA เป็นต้วกลาง
หน่วยย่อย คือ
Nucleotide
น้ำตาลไรโบสจะจับกับหมู่ฟอสเฟตด้วยพันธะester bond
น้ำตาลไรโบส + ไนโตรจีนัสเบส
เชื่อมกันด้วยพันธะ Glycosidic bond
สำคัญมากเพราะเป็นตัวควบคุมสารหลายๆอย่าง
ความแตกต่างของ DNA และ RNA
DNA
เบส A T C G
เป็นพอลินิวคลิโอไทด์ 2 สาย (Double strand)
น้ำตาล deoxyribose
RNA
น้ำตาลribose
เบส A U C G
เป็นพอลินิวคลิโอไทด์สายเดี่ยว (Single strand)
Proteins
โปรตีน
หน่วยย่อย คือ กรดอะมิโน
กรดอะมิโนเชื่อมต่อกันด้วยพันธะ Peptide bond
กรดอะมิโนมี 5 กลุ่ม 20 ชนิด
Structural protein
โปรตีนโครงสร้าง
Chemical protein
โปรตีนเคมี
โครงสร้าง
Primary sturctural
โครงสร้างปฐมภูมิ
กรดอะมิโนที่ต่อกันเป็นสายยาวๆ
โปรตีนหรือ Polypeptide
ยังไม่สามารถทำงานได้
กรดอะมิโนเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ (peptide) เกิดเป็นพอลิเพปไทด์
Secondary structure
โครงสร้างทุติยภูมิ
แบบเกลียวแอลฟา (alpha-helix)
มีลักษณะเป็นเป็นเกลียวขดคล้ายสปริง
แบบ beta sheetsหรือ pleated sheet ซึ่งป็นแผ่นพับซ้อนกันไปมา
กิดจากกรดแอมิโน (amino acid) ที่อยู่ภายในสายพอลิเพปไทด์เดียวกัน ทำปฎิกิริยากันด้วยพันธะไฮโดรเจน
Tertiary structure
โครงสร้างตติยภูมิ
โดยเพิ่มพันธะไดซัลไฟด์ (disulfide bond) ขึ้นมา
disulfide มักจะเกิดกับกรดอะมิโนที่มีความจำเพาะ โดยมี sulfide เป็นส่วนประกอบ
Quaternary structure
โครงสร้างจตุรภูมิ
เกิดจากการรวมกันของสายพอลิเพปไทด์มากกว่า 1 สาย
เช่น ฮีโมโกลบิน ประกอบด้วย
4 Polypeptide
Enzyme
เอนไซม์
ทำหน้าที่ Catalyst ปฏิกิริยา
เอนไซม์มีความจำเพาะกับสารที่ต้องเข้าไปทำปฏิกิริยาด้วย
เอนไซม์จะมีบริเวณ active site เป็นบริเวณที่่ทำให้สารตั้งต้นเข้าไปเกาะแล้วเอนไซม์ทำการ Catalyst ให้เป็นผลิตภัณฑ์