Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปหน่วยการเรียนรูที่3 เรื่องปฏิบัติดนตรีไทย :, ช่วงบนซอ…
สรุปหน่วยการเรียนรูที่3 เรื่องปฏิบัติดนตรีไทย :
การบรรเลงเครื่องดนตรีหลายชนิดผสมกันตามวงดนตรีไทยเรียกว่า “ การบรรเลงรวมวง” แบ่งออกเป็น3ประเภทดังนี้”
2.วงเครื่องสาย
วงที่ใช้เครื่องสายเป็นหลักในการดำเนินทำนอง
ซอด้วง
เครื่องดำเนินเพียงชนิดเดียวที่ไม่ใช้สายคือ
ขลุ่ยเพียงออ
วงเครื่องสายแบ่งเป็น4ชนิด
วงเครื่องสายเครื่องคู่
วงเครื่องสายประสม
วงเครื่องสายชวา
วงเครื่องสายเครื่องเดี่ยว
จะเข้
ซออู้
เครื่องกำกับจังหวะหน้าทับใช้โทนคู่กับรำมะนาและใช้ฉิ่งกำกับจังหวะ
1.วงปี่พาทย์ วงที่มีเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีและเป่าเป็นหลักในการดำเนินทำนอง
วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์
วงปี่พาทย์มอญ
วงปี่พาทย์นางหงส์
วงปี่พาทย์เสภา
วงปี่พาทย์ไม้นวม
วงปี่พาทย์ไม้แข็ง
วงปี่พาทย์ชาตรี
3.วงมโหรี
วงที่เครื่องสายประสมกับปี่พาทย์ มีขนาดเล็กกว่าวงปี่พาทย์ตัดเครื่องดำเนินทำนองคือ
ปี่ใน
ตะโพน
เพื่อความกลมกลืนของเสียง วงมโหรีแบ่งเป็น3ขนาด
เครื่องเดี่ยว
เครื่องใหญ่
เครื่องคู่
กลองทัด
การร้องแบ่งเป็น3รูปแบบ
1.ร้องอิสระ
ขับร้องทั่วไปโดยไม่มีดนตรี
ผู้ขับร้องสามารถกำหนดจังหวะเองหรือถ่ายทอดอารมณ์ตามความพึงพอใจได้
2.การร้องรับ-ส่ง
ร้องโดยมีดนตรีคอยรับ-ส่ง
ผู้ขับร้องไม่สามารถขับร้องได้ตามใจชอบ
ต้องมีอารมณ์สอดคล้องกับดนตรีและทำนอง คอยควบคุมเพื่อไม่ให้เสียงเพี้ยน
3.การร้องประกอบการแสดง
การร้องนี้จะต้องคำนึงถึงจังหวะและอารมณ์หรือท่าทางของผู้แสดง
ต้องรู้จักยืดหรือตัดคำร้องให้เหมาะสม
การขับเสภา
การขับร้องแบบไทยนิยมประพันธ์ด้วยกลอนแปดดำเนินเรื่องรวดเร็วมีการเอื้อนแทรกเล็กน้อย
ไม่ใช้วงดนตรีบรรเลง
มีการใช้กรับ2คู่ (ถือข้างละคู่)
ผู้ขับร้องจึงต้องมีไหวพริบและถ่ายทอดอารมณ์ให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
การพากย์
การขับร้องโดยใช้คำประพันธ์กาพย์ยานี11
โดยแบ่งเป็น
การพากย์บรรยาย
บรรยายทั่วไปเช่น ใครทำอะไรที่ไหนอย่างไร
การพากย์เบ็ดเตล็ด
เน้นเหตุการณ์สำคัญที่ปรากฏตามท้องเรื่อง
พากย์เมือง
(พากย์พลับพลา)
พากย์โดยถ่ายทอดอารมณ์ของตัวหลัก เช่น พระราม พระลักษณ์ สีดา ทศกัณฐ์
พากย์ชมดง
มักพากย์ชมป่าเขาลำเนาเพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกถึงป่าเขาหรือธรรมชาติ
พากย์โอ้
พากย์ประกอบกิริยาโศกเศร้า อาลัย
การพากย์รถ
ใช้พากย์ชมขบวนเสด็จหรือขบวนทัพเน้นการพากย์ที่คึกคักและคำกระชับเพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกฮึกเฮิม
9คุณสมบัติของผู้ขับร้อง
พึงจะมี
มีปอดที่ใหญ่
ขับร้องได้ต่อเนื่องโดยไม่หยุดหายใจ
มีโสตประสาทที่ดี
สามารถเปล่งเสียง ลูกเอื้อนหรือลูกกระทบได้อย่างชัดเจน
สุขภาพสมบูรณ์
มีสุขภาพที่แข็งแรงสามารถรักษาระดับเสียงได้
มีความจำดี
สามารถจำเสียงของต้นแบบได้เมื่อนำมาเทียบกับเสียงตัวเอง
มีเสียงกังวานธรรมชาติ
ขับร้องโดยมีกระแสเสียงเปล่งออกมาจากกล่องเสียง
มีสมาธิ
จิตใจจดจ่อที่เนื้อเพลง ทำนองและดนตรี
มีเสียงที่ตรงกับดนตรี
ขับตรงได้ตรงตามระดับเสียงของทำนอง
มีครูต้นแบบที่สมบูรณ์แบบ
ผู้สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ให้ผู้ขับร้องได้อย่างสมบูรณ์แบบ
มีเสียงสดใส
หมายถึงแก้วเสียง
วิธีการฝึกปฏิบัติซอด้วง
มือขวา-จับที่ปลายคันชักด้านขวาห่างจากจุดหมุน3-4นิ้ว
นิ้วหัวแม่มือ-วางไว้ด้านบนคันชัก โดยใช้ปลายนิ้วดันคันชักเพื่อช่วยบังคับคันขัก
นิ้วชีและนิ้วกลาง-จับอยู่ด้านนอกของคันชัก
นิ้วนาง-สอดเข้าตรงกลางระหว่างคันชักส่วนที่เป็นหางม้ากับไม้สำหรับเหนี่ยวหางม้าให้ถูกสายที่ต้องการ
นิ้วก้อย-อยู่ด้านในสุด ใช้ช่วยเมื่อส่งคันชักต้องการเสียสายเอก ลากคันชักให้เป็นเส้นตรงให้ปลายเฉียงออกนอกลำตัวเล็กน้อย
มือซ้าย-จับคันซอให้ตรงกับที่มีเชือกรัดอก ให้ต่ำกว่าเชือกรัดอกประมาณ 1 นิ้ว
วิธีฝึกลากคันชักและการไล่โน๊ต
การปฏิบัติ
วางคันสีไว้ด้านใน ให้อยู่ในลักษณะเตรียมชักออก ค่อยๆลากคันสีออกให้เกิดเสียง ซอล จนสุดคันชัก แล้วเปลี่ยนเป็นสีเข้าในสายเดียวกัน (ทำเรื่อยไปจนกว่าจะคล่อง) พอซ้อมสายในคล่องดีแล้ว จึงเปลี่ยนมาสีสายเอกซึ่งเป็นเสียง เร โดยการใช้นิ้วนางกับนิ้วก้อยมือขวา ดันคันสีออก ปฏิบัติจนคล่อง
บทเพลงที่ควรใช้ฝึก
เพลงโหมโรงกระแตไต่ไม้
หน้าที่สำคัญของซอด้วงในวงเครื่องสายและมโหรี
วงเครื่องสาย
ผู้บรรเลงซอด้วงมีหน้าที่เป็นผู้นำวง และดำเนินทำนองเนื้อเพลงเป็นหลักของวง
วงมโหรี
มีหน้าที่เพียงดำเนินเนื้อเพลงเท่านั้น ไม่มีหน้าที่เป็นผู้นำวง เพราะในวงมโหรีมีระนาดเอกซึ่งเสียงดังกว่า ทำหน้าที่เป็นผู้นำวงอยู่แล้ว
หลักการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย
ลักษณะของซอด้วง
ทวนซอ
อยู่กลางคันซอเพื่อความสวยงาม
คันซอ
ทำด้วยไม้เนื้อแข็งและขึงด้วยหางไม้
รัดอก
บ่วงเชือรั้งสายซอ
หย่อง
ไม้ชิ้นเล็กๆหนา3มิลลิเมตรใช้หนุนสายซอเพื่อให้พ้นกระโหลก
ลูกบิด
มีสองลูกเสียบช่วงล่างของโขน
หน้ากระโหลก
ความกว้างประมาณ6เซนติเมตรใช้หนังงูเหลืมปิดหน้าเท่านั้น
โขน
กระบอก
ส่วนเสมือนกล่องเสียง เดิมนิยมทำจากกระบอไม้ไผ่
ศัพท์สังคีพในการฝึกดนตรีไทย
เหลื่อม
ป็นวิธีการโดยการแบ่งเครื่องดนตรีประเภทดำเนินทำนองเป็น 2พวก เหมือนกับลูกล้อ ทำนองที่บรรเลงของพวกหน้าเป็นอย่างเดียวกัน มีความยาวเท่ากัน แต่พวกหน้าบรรเลงก่อนพวกหลังเพียงเล็กน้อย เพราะฉะนั้นพวกหน้าก็จะต้องหมดก่อนพวกหลังเท่ากับระยะที่ได้บรรเลงขึ้นมาก่อน และเสียงสุดประโยคของพวกหน้าก็ตกลงก่อนจังหวะ ประโยคที่บรรเลงเหลื่อมนี้จะสั้นยาวเพียงใดก็แล้วแต่ความประสงค์ของผู้แต่งเพลง
ลูกขัด
พวกหน้าบรรเลงก่อน พวกหลังบรรเลงทีหลัง 2พวกนี้จะผลัดกันบรรเลงคนละทีแต่ที่เรียกว่าลูกขัดเพราะเมื่อพวกหน้าบรรเลงไปแล้ว พวกหลังจะบรรผิดแผกแตกต่างออกไป
ลูกล้อ
เป็นวิธีการบรรเลงทำนองอย่างหนึ่งที่แบ่งเครื่องดนตรี(หรือร้อง) ออกเป็น 2 พวก
พวกหนึ่งเรียกว่าพวกหน้า อีกพวกหนึ่งเรียกว่าพวกหลัง ทั้งสองพวกนี้ ผลัดกัน
บรรเลงคนละที เมื่อพวกหน้าบรรเลงไปหมดวรรคตอนแล้ง พวกหลังก็จะบรรเลงบ้าง
(เช่นเดียวกับคำว่าลูกขัดที่กล่าวมาแล้ว) แต่ที่จะเรียกได้ว่า “ลูกล้อ” นี้ เมื่อพวกหน้า
บรรเลงไปเป็นทำนองอย่างใด พวกหลังก็จะบรรเลงเป็นทำนองซ้ำอย่างเดียวกันกับพวก
หน้า และทำนองที่ผลัดกันบรรเลงนี้ ก็แล้วแต่ผู้แต่งจะประดิษฐ์ขึ้น จะสั้นยาวเท่าใด
หรือเพียงพยางค์เดียวก็ได้
ช่วงบนซอ รูปร่างคล้ายโขนเรือ