Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ ให้ได้รับ สารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ส่วนประกอบ
คาร์โบไฮเดรต
สารละลายไขมัน
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหาร
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่ง
หลอดเลือดดำแขนง
หลอดเลือดดำใหญ่
อุปกรณ์
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอน
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ต่อ สายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย
นาสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจานวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ไข้
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ:
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค
การประเมินด้านจิตใจ
ความพร้อมของการรับบริการให้เลือด
ความต้องการรับบริการให้เลือด
ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา และประวัติการรับเลือด
ตรวจสอบชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
เกณฑ์การประเมิน
ตามหลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 18
blood transfusion set (Blood set)
tourniquet
สาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ transparent สาเร็จรูป
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
วิธีท้าการให้เลือด
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh. ของผู้ป่วย
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
ล้างมือให้สะอาด
ดึงที่ปิดถุงเลือดออก
เช็ดรอบ ๆ ด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
ต่อthreewaysกับextensiontubeแล้วมาต่อกับbloodsetปิดclamp
แขวนขวดเลือดกับเสาน้ำเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร
บีบ chamber ของ blood set
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
บันทึกหมู่เลือด
การปฏิบัติเมื่อพบอาการแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
หยุดให้เลือดทันทีแล้วเปิดทางหลอดเลือดดำ (KVO) ด้วย NSS
รายงานแพทย์
ตรวจสอบสัญญาณชีพ
เตรียมสารน้ำและยา
ส่งขวดเลือดและเจาะเลือดของผู้ป่วยจากแขนที่ไม่ได้ให้เลือดไปยังห้องปฏิบัติการเพื่อ ตรวจสอบ
บันทึกจานวนสารน้ำที่นาเข้า–ออกจากร่างกาย
การหยุดให้เลือด
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบ
เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดขาว
เกร็ดเลือด
น้าเลือด
การให้เลือด
พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับหมู่เลือด
ระบบ ABO จาแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่ คือ หมู่เลือด A, B, AB และ O
พยาบาลผู้รับผิดชอบจึงต้องมีความละเอียดรอบคอบ
ระมัดระวังในการให้เลือด
การให้และการรับเลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ปABรับได้จากทุกกรุ๊ปแต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ปAB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ลักษณะที่พบ
บวมบริเวณที่ให้
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกัน
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
ลักษณะที่พบ
อาการเขียว
พบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง
การพยาบาลและการป้องกัน
ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหารไม่ให้อากาศผ่านเข้า
หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทาให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
ลักษณะที่พบ
อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก คือ ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
ผู้ป่วยมีปริมาณน้าเข้าและออก
มีการคั่งของเลือดดาจะพบว่าหลอดเลือดดาที่คอโป่ง
ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ
การพยาบาลและการป้องกัน
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไข้
ลักษณะที่พบ
ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
การพยาบาลและการป้องกัน
หยุดให้สารอาหาร
บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
การเตรียมสารอาหารควรทาด้วยวิธีปลอดเชื้อ
เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหาร
ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก24ชั่วโมง
ควรมีสถานที่เฉพาะสาหรับเตรียมสารอาหาร
ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
ไมเ่กิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไมเ่กิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดาไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยได้รบัสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดาส่วนปลาย
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทางเส้นเลือดดำอุดตัน ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำ
ดูแลทางด้านจิตใจ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการใหส้ ารอาหารทางหลอดเลือดด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกาย
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัดและการบันทึกจานวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกาหนดจานวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจานวนน้าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหาร
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
บันทึกจานวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ